เท็กซัสฟ้อง TikTok กรณีเผยแพร่ข้อมูลส่วนตัวเด็กโดยไม่ได้รับอนุญาตจากผู้ปกครอง

Loading

รัฐเท็กซัสยื้นฟ้อง TikTok กล่าวหาว่าละเมิดความเป็นส่วนตัวของเยาวชน และละเมิดกฎหมายระดับรัฐ โดยการเผยแพร่ข้อมูลระบุตัวตนโดยไม่ได้รับความยินยอมจากผู้ปกครอง

“ดีอี”เตือนอย่าเชื่อ “เหยื่อจากคอลเซ็นเตอร์ ลงทะเบียนขอรับเงินคืน 3 ช่องทาง” เป็นเพจปลอม

Loading

    นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ รองปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอี) ในฐานะโฆษกกระทรวงฯ กล่าวถึงผลการมอนิเตอร์และรับแจ้งข่าวปลอมของศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม ระหว่างวันที่ 27 กันยายน–3 ตุลาคม 2567 พบข้อความที่เข้ามาทั้งหมด 835,553 ข้อความ โดยมีข้อความที่ต้องดำเนินการตรวจสอบ (Verify) ทั้งสิ้น 337 ข้อความ รวมเรื่องที่ต้องดำเนินการตรวจสอบทั้งหมด 182 เรื่อง และจากการประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้รับผลการตรวจสอบกลับมาแล้ว 101 เรื่อง โดยในจำนวนนี้มีข่าวปลอมที่เกี่ยวข้องกับอาชญากรรมออนไลน์ที่ประชาชนให้ความสนใจมากที่สุด จำนวน 10 อันดับ ได้แก่   อันดับที่ 1 : เรื่อง เหยื่อจากคอลเซ็นเตอร์ ลงทะเบียนขอรับเงินคืน 3 ช่องทาง ผ่านเพจ ศูนย์ช่วยเหลือเหยื่อมิจฉาชีพทางออนไลน์ อันดับที่ 2 : เรื่อง เปิดให้ลงทุนในธุรกิจค้าปลีกประเภทร้านสะดวกซื้อ เริ่มต้น 1,200 บาท ผลตอบแทน 10–30% กำกับดูแลโดย…

Road Safety Culture คืออะไร? ทำไมประเทศเจริญแล้วถึงใส่ใจ

Loading

อธิบายคำว่า Road Safety Culture อย่างง่ายๆ คือ แนวคิดด้านการรักษาความปลอดภัยบนท้องถนน ที่ต้องอาศัยการร่วมมือกันของคนในสังคม เพื่อสร้างจิตสำนึกในการปฏิบัติตามกฏจราจรทั้งในส่วนของคนเดิน คนขับรถ และผู้ใช้ท้องถนนทุกๆ คน จนเกิดเป็นวัฒนธรรมที่สามารถสร้างสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยขึ้นมาได้

Amazon หวั่นข้อมูลองค์กรรั่วไหล เตือนพนักงานห้ามใช้ ChatGPT

Loading

Amazon เว็บไซต์ซื้อ-ขายสินค้าออนไลน์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก เตือนพนักงานห้ามใช้ ChatGPT หรือแชทบอท AI จากเว็บไซต์ภายนอก หวั่นข้อมูลองค์กรรั่วไหล พร้อมเปิดตัว “Cedric” แชทบอท AI ที่องค์กรคิดค้นขึ้นเองเพื่อแก้ปัญหาด้านความปลอดภัยไซเบอร์

รัฐแคลิฟอร์เนียออกกฎหมายคุ้มครอง ‘ข้อมูลประสาท’ จากคลื่นสมองคนไข้

Loading

สำนักข่าวเอเอฟพีรายงานจากเมืองซานฟรานซิสโก สหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 1 ต.ค. ว่า นายเกวิน นิวซัม ผู้ว่าการรัฐแคลิฟอร์เนีย ลงนามในกฎหมายแก้ไขใหม่ เพื่อคุ้มครองความเป็นส่วนตัวของผู้บริโภค ซึ่งสอดคล้องกับกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ของสหภาพยุโรป (จีดีพีอาร์) เพื่อควบคุมความเป็นส่วนตัวของ “ข้อมูลประสาท” จากการระบุพิกัด, พันธุกรรม และข้อมูลชีวภาพ

ตีแผ่ ‘กลลวงทางจิตใจ’ ที่เหล่า ‘สแกมเมอร์’ ใช้ต้มตุ๋นคน

Loading

ในยุคที่การหลอกลวงแพร่หลาย ทุกคนมีความเสี่ยงตกเป็นเหยื่อ ไม่ว่าจะฉลาดแค่ไหน เพราะ ‘สแกมเมอร์’ ใช้ทั้งเทคโนโลยีและจิตวิทยาอย่างแยบยล ผู้เชี่ยวชาญด้านไอทีและจิตวิทยาได้อธิบายวิธีการของนักต้มตุ๋นเหล่านี้