ช่องโหว่ในชิป Bluetooth เสี่ยงให้แฮกเกอร์ดักฟังเสียงจากไมโครโฟนและโทรศัพท์มือถือ

Loading

นักวิจัยด้านความปลอดภัยไซเบอร์ได้เปิดเผยถึงช่องโหว่ร้ายแรงในชิปเซ็ต Bluetooth ของ Airoha ซึ่งถูกนำไปใช้ในอุปกรณ์เครื่องเสียงยอดนิยมกว่า 29 รุ่น จาก 10 ผู้ผลิตชั้นนำ อาทิ Beyerdynamic, Bose, Sony, Marshall, Jabra, และ JBL ช่องโหว่นี้อาจเปิดช่องให้แฮกเกอร์สามารถดักฟังการสนทนา หรือแม้แต่ขโมยข้อมูลที่ละเอียดอ่อนจากผู้ใช้งานได้ ครอบคลุมทั้งลำโพง หูฟัง และไมโครโฟนไร้สาย

รู้จัก ‘Cyber Resilience’ ทางรอดจากตัวร้ายไซเบอร์ยุค AI

Loading

ทุกวันนี้กลุ่มอาชญากรรมไซเบอร์ได้พัฒนาเทคนิคการโจมตีให้ซับซ้อนยิ่งขึ้น โดยมุ่งเป้าไปยังองค์กรที่ถือข้อมูลสำคัญ หรือมีศักยภาพในการเรียกค่าไถ่ ผ่านเครื่องมือที่ล้ำสมัยอย่างปัญญาประดิษฐ์ (AI) และ Machine Learning เพื่อเพิ่มโอกาสในการเจาะระบบและลดโอกาสในการถูกตรวจจับ

BaaS ตัวช่วยสำรองข้อมูล พร้อมรับมือทุกเหตุการณ์ไม่คาดคิด

Loading

BaaS ตัวช่วยสำรองข้อมูล พร้อมรับมือทุกเหตุการณ์ไม่คาดคิดโลกที่ภัยคุกคามทางไซเบอร์เพิ่มขึ้นทุกวันและข้อมูลเป็นทรัพย์สินที่มีค่ามหาศาลขององค์กร การสำรองข้อมูล (Backup) อย่างมีระบบจึงไม่ใช่เรื่องที่ควรทำเป็นสิ่งสำคัญที่ควรมีและกลายเป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างยิ่งในยุคปัจจุบันBaaS (Backup as a service)

Virtual Hijack! มัลแวร์ Android เวอร์ชันใหม่ใช้เทคนิค sandbox ยึดแอพการเงินได้ทุกแบบไม่เว้นแม้แต่คริปโต

Loading

มัลแวร์ธนาคารเวอร์ชันใหม่ที่มีชื่อเสียงฉาวโฉ่ได้เริ่มแพร่ระบาดในโทรศัพท์มือถือ Android โดยนักวิจัยด้านความปลอดภัยไซเบอร์จากบริษัท Zimperium ระบุว่ามัลแวร์ตัวนี้มีความสามารถล้ำหน้ากว่าเวอร์ชันก่อนหน้าอย่างมาก 

บีทีเอส แจงพบข้อมูล พนง. 6,000 รายการ บน Dark Web ได้รับการแก้ไขแล้ว

Loading

บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ผู้ให้บริการรถไฟฟ้าบีทีเอส ได้ตรวจสอบพบว่ามีเหตุการณ์การละเมิดข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงานที่เข้ารับการฝึกอบรมภายในบริษัทฯ ประมาณ 6,000 รายการโดยข้อมูลดังกล่าวได้ถูกนำไปเผยแพร่บน Dark Web ประกอบด้วย ชื่อ-นามสกุล ตำแหน่งงาน สังกัด และอีเมลของพนักงาน

“พาโล อัลโต้ “ เผยพบทราฟฟิก GenAI พุ่งสูงขึ้น 890%

Loading

แม้ว่าการเติบโตของ AI จะให้ประโยชน์ด้านประสิทธิภาพการทำงานอย่างมีนัยสำคัญ แต่รายงานฉบับนี้ย้ำเตือนว่า การใช้งานโดยไม่ได้รับอนุญาต ภัยคุกคามรูปแบบใหม่ และการขาดการกำกับดูแล ได้ขยายจุดเปราะบางขององค์กร (Attack Surface) เพิ่มมากขึ้นไปอีกระดับ โดยเฉพาะในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกและญี่ปุ่น