สหรัฐชี้เก็บข้อมูลผู้ใช้ติ๊กต็อกเป็นภัยความมั่นคง
กระทรวงยุติธรรมสหรัฐเปิดเผยว่า การที่ติ๊กต็อก (TikTok) เก็บข้อมูลของผู้ใช้งานเกี่ยวกับหัวข้อที่ละเอียดอ่อนนั้น ถือเป็นภัยคุกคามต่อความมั่นคงของชาติ
กระทรวงยุติธรรมสหรัฐเปิดเผยว่า การที่ติ๊กต็อก (TikTok) เก็บข้อมูลของผู้ใช้งานเกี่ยวกับหัวข้อที่ละเอียดอ่อนนั้น ถือเป็นภัยคุกคามต่อความมั่นคงของชาติ
วิทยาลัยคิงส์คอลเลจลอนดอน เปิดเผยข้อมูลใหม่ๆ ว่า คนร้ายเฉลี่ย 2 ใน 3 คนที่ถูกจับกุมในยุโรปในช่วง 9 เดือนที่ผ่านมา เป็นวัยรุ่นอายุ 13-19 ปี ที่ถูกกลุ่มไอเอสรับสมัครทางสื่อออนไลน์
ปัญหาระบบไอทีล่มครั้งใหญ่ สร้างความปั่นป่วนให้กับหลายธุรกิจทั่วโลก แต่มีไม่กี่ประเทศ อาทิ จีนและเกาหลีใต้ ที่รอดพ้น หรือได้รับผลกระทบน้อยมากจากวิกฤตครั้งนี้ สาเหตุเป็นเพราะอะไร ไทยและอีกหลายประเทศที่ได้รับผลกระทบจะถอดบทเรียนจากเรื่องนี้ได้อย่างไร
เว็บไซต์ ARN รายงานเมื่อ 8 ก.ค.67 ว่า กระทรวงมหาดไทยของออสเตรเลียกำหนดทิศทางการพัฒนาประเทศไปสู่ความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์แห่งชาติ โดยออกคำสั่งให้หน่วยงานของรัฐดำเนินการตรวจสอบและคัดเลือกบริษัทจัดหาหรือจัดจำหน่ายสินค้าด้านเทคโนโลยี (supplier) ให้เข้มงวดมากขึ้น ประเมินความปลอดภัยต่อสินทรัพย์ทางเทคโนโลยีเป็นประจำ และประสานงานร่วมกับหน่วยข่าวกรองทางการสื่อสารของออสเตรเลีย (Australian Signals Directorate – ASD) ในการแบ่งปันข้อมูลภัยคุกคามทางไซเบอร์
เว็บไซต์ Nordic Monitor รายงานเมื่อ 14 มิ.ย.67 ว่า เมื่อ 12 มิ.ย67 รัฐสภาของตุรกีได้อนุมัติร่างกฎหมาย เพิ่มข้อบังคับมาตรา 5 ในการควบคุมการใช้สื่อสังคมออนไลน์ของบุคลากรทางทหารของตุรกี ภายหลังเกิดเหตุการณ์การข้อมูลรั่วไหลและการโจมตี
เออร์เนสต์ เนพริส (Ernestas Naprys) จาก Cybernews หรือสื่อออนไลน์ที่รายงานเกี่ยวกับภัยคุกคามและช่องโหว่ด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์ ได้ทำการทดติดตั้งแอปฯ 100 อันดับแรกใน App Store ของเยอรมันบน iPhone รุ่นใหม่ และจาก Play Store บนสมาร์ตโฟน Android รุ่นใหม่ จากนั้นเนพริสก็เลือกไม่ใช้งานอุปกรณ์ที่ทำการทดสอบ พร้อมกับสังเกตว่าอุปกรณ์เหล่านี้มีการเชื่อมต่อกับเซิร์ฟเวอร์ต่างประเทศบ่อยแค่ไหน รวมถึงตำแหน่งของเซิร์ฟเวอร์เหล่านั้นด้วย
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว