เมื่อเอไออย่าง ChatGPT กำลังมาแทนที่นักวิทยาศาสตร์ข้อมูล

Loading

เมื่อ 4-5 ปีก่อนเราเคยกล่าวกันว่า อาชีพนักวิทยาศาสตร์ข้อมูลหรือ Data Scientist เป็นอาชีพที่น่าสนใจ เพราะองค์กรต่าง ๆ มีความต้องการที่จะวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่มากขึ้น จึงต้องเสาะหาผู้เชี่ยวชาญทางด้านนี้มากขึ้น ถึงกับมีคนกล่าวว่า นักวิทยาศาสตร์ข้อมูลเป็นอาชีพสุดฮ็อต ขึ้นแท่น ‘The Sexiest Job’ แห่งศตวรรษที่ 21

สิทธิมนุษยชนกับการปรากฏตัวของ AI

Loading

AI ปฏิบัติการบนฐานอัลกอริทึม (algorithm) มีความสามารถในการคาดการณ์ ตัดสินใจ และให้คำแนะนำ ทั้งในฐานะผู้ช่วยตัดสินใจและผู้ตัดสินใจเองโดยอิสระ ผ่านกิจกรรมประจำวันของมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็น การซื้อสินค้าตามรสนิยมและความต้องการ การใช้ระบบจดจำใบหน้าในกิจกรรมต่าง ๆ

ส่องแนวทาง และเครื่องมือการทดสอบธรรมภิบาล AI (AI verify) จากประเทศสิงคโปร์

Loading

Artificial Intelligent technology (AI) เป็นเทคโนโลยีที่เป็นที่กล่าวถึงอย่างมากในขณะปัจจุบัน ข้อมูลจาก Grandviewresearch.com เผยว่า ตลาดของ AI ทั่วโลก ในปี 2566 อาจสูงถึง 196.6 พันล้านดอลลาห์สหรัฐ หรือประมาณ 6.684 ล้านล้านบาท

การ์ทเนอร์ เปิด 5 เทรนด์ กำหนดอนาคต ยก ‘AI Cloud Data science’ สะเทือนโลก

Loading

  การ์ทเนอร์ เผยแนวโน้มสำคัญที่ส่งผลต่ออนาคตของวิทยาศาสตร์ข้อมูลและแมชีนเลิร์นนิ่ง ผลจากวิวัฒนาการและการเติบโตของภาคอุตสาหกรรมอย่างรวดเร็ว ตอบสนองต่อการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยของข้อมูลในปัญญาประดิษฐ์ (เอไอ) โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อธุรกิจโฟกัสการลงทุน Generative AI   ปีเตอร์ เครนสกี้ ผู้อำนวยการฝ่ายวิจัย การ์ทเนอร์ กล่าวว่า แมชีนเลิร์นนิ่งยังคงเติบโตอย่างรวดเร็วในภาคอุตสาหกรรมต่าง ๆ ขณะเดียวกัน DSML (Data Science and Machine Learning) กำลังพัฒนาจากเดิมที่มุ่งเน้นโมเดลการคาดการณ์ (Predictive Models) ไปเป็นให้ทุกคนสามารถเข้าถึงได้ในวงกว้างขึ้น ไดนามิก และเน้นข้อมูลเป็นหลัก   รวมถึงได้รับแรงหนุนจาก Generative AI แม้อาจมีความเสี่ยงเกิดขึ้น แต่ก็มีความสามารถและช่วยสร้างยูสเคสการใช้งานใหม่ๆ ที่เป็นประโยชน์สำหรับนักวิทยาศาสตร์ข้อมูลและองค์กร     เดินหน้าสู่ ยุคใหม่แห่งข้อมูล   การ์ทเนอร์รวบรวม 5 แนวโน้มสำคัญที่จะเป็นตัวกำหนดอนาคตของ DSML ไว้ดังนี้   เทรนด์ที่ 1: Cloud Data Ecosystems : Data…

ลิขสิทธิ์ และ กฎหมายกับ AI

Loading

    ลิขสิทธิ์ และ กฎหมายกับ AI   AI วาดรูปที่เคยเป็นที่ฮือฮามาก ๆ ในช่วงปลายปีที่แล้ว ทั้ง Dall-E2, Midjourney จนตอนนี้ ผ่านมาแค่ครึ่งปี แต่ AI วาดรูปก็กลายเป็นเรื่องปกติไปที่เดี๋ยวนี้ใคร ๆ ก็ใช้ บางคนก็เอาไปใช้เป็นรูปประกอบ บางคนเอารูปนั้นไปขาย บางที่ก็ฝึกให้ AI เรียนรู้สไตล์ภาพของศิลปิน แล้วสร้างภาพใหม่ในสไตล์นั้นขึ้นมา แต่ เอ๊ะ…แล้วแบบนี้ มันจะเรียกว่าละเมิดลิขสิทธิ์หรือผิดกฎหมายไหม?   ซึ่งเรื่องนี้ก็มีรายงานข่าวจากต่างประเทศว่า มีศิลปิน 3 คนรวมตัวกันยื่นฟ้อง Midjourney และ Stable Diffusion เอไอวาดรูปที่เป็นที่นิยมมาก ๆ ข้อหาละเมิดสิทธิ์ของ “ศิลปินหลายล้านคน” ด้วยการเอารูปของพวกเขาไปเทรน AI แต่คดียังไม่จบนะคะ   1/ As I learned more about how the…

ภาครัฐเร่งพัฒนาจริยธรรม เทคโนโลยี AI หลังเอกชนตื่นตัวลงทุนมากขึ้น

Loading

  ETDA ร่วมกับ สวทช. เผยความพร้อมองค์กรในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ AI สำหรับบริการดิจิทัล เตรียมวางหลักเกณฑ์ด้านธรรมาภิบาล   สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (สพธอ.) หรือ ETDA (เอ็ตด้า) กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ร่วมกับ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ได้จัดทำการศึกษาเกี่ยวกับความพร้อมขององค์กร เกี่ยวกับการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี AI ในภาคธุรกิจหรืออุตสาหกรรม   การใช้ดัชนีการวัด 5 ด้าน ได้แก่ 1. ด้านยุทธศาสตร์และความสามารถขององค์กร 2. ด้านข้อมูลและโครงสร้างพื้นฐาน 3. ด้านบุคลากร 4. ด้านเทคโนโลยี 5. ด้านธรรมาภิบาล   ผลที่ได้จากการประเมินตามด้านต่าง ๆ จะนำไปสู่การแบ่งความพร้อมขององค์กรได้เป็น 4 ระดับ คือ ระดับ Unaware = ยังไม่มีความตระหนัก/ อยู่ในช่วงเริ่มต้นเรียนรู้ Aware = มีความตระหนักและเริ่มนำ…