เมื่อแชทรั่ว : กรณีแอป Signal สหรัฐฯ และความเสี่ยงในองค์กรไทย

Loading

ข่าวใหญ่ เรื่องข้อมูลสนทนากลุ่มแชทที่ชื่อ “Houthi PC Small Group” ในแอป Signal ของเจ้าหน้าที่ระดับสูงในรัฐบาลสหรัฐฯ รั่วไหลออกมา โดย Jeffrey Goldberg บรรณาธิการของ นิตยสาร The Atlantic ได้ตีพิมพ์บทความลงในวันที่ 24 มีนาคม 2025 ว่าเขาได้เฝ้าสังเกตการณ์สนทนาวางแผนทางทหารที่มีความอ่อนไหวระหว่างเจ้าหน้าที่ระดับสูง โดยที่พวกเขาไม่ทราบว่ามีคนอื่นอยู่ในกลุ่มแชทด้วย

กลไกความปลอดภัยใหม่ ‘IllusionCAPTCHA’

Loading

เนื่องจากความปลอดภัยทางไซเบอร์ได้กลายเป็นเรื่องหลักที่องค์กรส่วนใหญ่ทั่วโลกให้สำคัญเพราะเป็นสิ่งที่สามารถช่วยลดโอกาสเสี่ยงในการเผชิญกับภัยคุกคามต่างๆ และความเสียหายจากเหล่าบรรดาผู้ไม่ประสงค์ดีที่เดินหน้าเร่งพัฒนาวิธีการเพื่อโจมตีระบบของเหยื่ออย่างต่อเนื่อง

31 มีนาคม วันสำรองข้อมูลโลก (World Backup Day)

Loading

ในยุคที่ทุกอย่างเป็นดิจิทัลมากขึ้น ข้อมูลกลายเป็นสิ่งล้ำค่าที่เราต้องปกป้อง “วันสำรองข้อมูลโลก” (World Backup Day) จึงถูกกำหนดขึ้นในวันที่ 31 มีนาคม ของทุกปี เพื่อเตือนให้ทุกคนตระหนักถึงความสำคัญของการสำรองข้อมูล ก่อนที่จะสายเกินไป!

6 จุดสังเกตดูเหล็กมาตรฐาน อย่าให้ผู้รับเหมาหลอก ระวัง!! บ้านถล่มไม่รู้ตัว

Loading

    เปิดวิธีดูเหล็กมาตรฐาน อย่าให้ผู้รับเหมาหลอก ระวังบ้านถล่มไม่รู้ตัว!!  “เหล็ก” กำลังเป็นประเด็นร้อนที่ถูกพูดถึงเป็นอย่างมากในเหตุการณ์ตึก สตง. ที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวถล่มพังราบ ซึ่งเป็นตึกเดียวที่พังราบลงมา จากสถานการณ์แผ่นดินไหวครั้งนี้ ทุกคนจึงพุ่งเป้าหาสาเหตุว่า เป็นเพราะอะไร!! ทำไมถึงถล่มได้รุนแรงขนาดนี้   สำหรับสินค้า “เหล็ก” จัดเป็นสินค้าที่ขึ้นชื่อว่า เป็นสินค้ากลุ่ม “คนซื้อไม่ได้ใช้ คนใช้ไม่ได้ซื้อ” หมายถึงคนซื้อ คือ ผู้รับเหมาก่อสร้าง สร้างเสร็จแล้วก็ไป บางที คนใช้ คือ เจ้าของบ้าน เจ้าของตึกอาคาร ที่เป็นผู้ใช้สินค้านั้นระยะยาว ไม่รู้ด้วยว่า สิ่งที่ผู้รับเหมาสั่งซื้อมาตรงสเปกหรือไม่ เพราะหลายรายก็ดูไม่เป็น หลายราย ตอนก่อสร้างก็ไม่ได้เข้ามาดู เพราะฉะนั้นหากเจอผู้รับเหมา ตุกติก ขี้โกง  ลดสเปกสินค้า หรือซื้อสินค้าไม่ได้คุณภาพตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) ทำให้เกิดผลเสียให้ผู้อยู่อาศัยในระยะยาว 6 จุดสังเกตเหล็กที่ได้คุณภาพตามมาตรฐาน มอก.   1.ตัวนูนบนเนื้อเหล็ก จะต้องแสดงข้อมูลที่จำเป็นดังต่อไปนี้บนเนื้อเหล็กเส้นกลม เหล็กเส้นข้ออ้อยทุกเส้น ได้แก่ เครื่องหมายการค้า โรงงานผู้ผลิต ประเภทของสินค้า ชั้นคุณภาพ…

หลังเกิดเหตุแผ่นดินไหว ต้องตรวจสอบอะไรบ้าง

Loading

    ภายหลังเกิดเหตุแผ่นดินไหว สิ่งที่ตามมาคือ ความกังวลว่าที่พักอาศัยหรือสถานที่ทางาน สถานประกอบการของตนเองมีความปลอดภัยแค่ไหน ในเบื้องต้นเราควรตรวจสอบอะไรบ้าง กรณีโครงสร้างของบ้านพักอาศัย หรืออาคารที่ทาการ ที่ปรากฏรอยร้าว ต้องสังเกตอย่างไร? รอยร้าวประเภทไหนปลอดภัย และประเภทไหนที่อันตราย สรุปสิ่งที่ควรดาเนินการเพื่อประเมินความปลอดภัยอาคารสถานที่ ไม่ว่าจะเป็นบ้านพักอาศัย สถานที่ทำการ สถานประกอบการ ฯลฯ ที่เราต้องอยู่อาศัย หรือใช้ในชีวิตประจำวัน ควรดำเนินการดังนี้   1. ตรวจสอบความเที่ยงตรง (แนวดิ่ง แนวฉาก) ของอาคาร โดยตรวจสอบว่า อาคารอยู่ในสภาพแนวดิ่ง แนวฉากปกติ ตามแบบแปลนอาคารหรือไม่ 2. ตรวจสอบรอยร้าวที่ปรากฏ ทั้งส่วนที่เป็นโครงสร้าง และในส่วนที่เป็นการตกแต่ง   อาคารโครงสร้างไม้ : เป็นโครงสร้างที่มีน้าหนักเบา เมื่อเกิดแผ่นดินไหวจะส่งผลกระทบต่ออาคารประเภทนี้น้อยกว่าประเภทอื่น ๆ ความเสียหายของชิ้นส่วนโครงสร้างไม้ส่วนมากจะเกิดขึ้นเฉพาะจุดต่อ (connectionconnection) แต่มักจะไม่ปรากฏความเสียหายที่ตัวชิ้นส่วนโครงสร้าง   อาคารโครงสร้างอิฐก่อ : การพังททลายของอาคารโครงสร้างอิฐก่อส่วนใหญ่จะเป็นผลเนื่องมาจาก การเอนออกจากระนาบ (out of planeplane) ของผนังก่ออิฐ ความเสียหายที่ต้องให้ความสนใจ คือ…

‘กระเป๋ารับมือภัยพิบัติ’ ควรเตรียมอะไรบ้าง หากเกิด ‘แผ่นดินไหว’

Loading

“ญี่ปุ่น” ประเทศที่เกิดแผ่นดินไหวอยู่บ่อยครั้ง แนะนำให้เตรียม “กระเป๋าโบไซ” (Bousai Bag) ชุดอุปกรณ์ฉุกเฉินที่สามารถช่วยให้ประชาชนดำรงชีพได้นานถึง 3-5 วัน ในกรณีที่เกิดภัยพิบัติ