ระเบิดฟองน้ำ’ ระเบิดเคมีชนิดฟองโฟม อาวุธลับของกองทัพอิสราเอล ใช้ปิดกั้นทางเข้า – ออกอุโมงค์ใต้ดินฉนวนกาซา สกัดเส้นทางกลุ่มฮามาส

Loading

กองทัพอิสราเอล (IDF) เตรียม ‘ระเบิดฟองน้ำ’ เป็นอาวุธปิดกั้นอุโมงค์ฉนวนกาซา ขณะที่กองกำลังภาคพื้นดินของอิสราเอลเริ่มเข้าสู่ฉนวนกาซา การวิเคราะห์จำนวนมากที่เผยแพร่นับตั้งแต่เริ่มต้นความขัดแย้ง ความท้าทายที่ใหญ่ที่สุดที่กองทัพอิสราเอลจะเผชิญในการรุกภาคพื้นดินในฉนวนกาซา คือ อุโมงค์ใต้ดินที่เรียกว่า ‘รถไฟใต้ดินของฉนวนกาซา’

ใยแมงมุมอุโมงค์ใต้ดินคือ ‘อาวุธลับ’ ของฮามาส

Loading

หนึ่งในความ “มหัศจรรย์” ของสงครามอิสราเอล-ฮามาสคือ “เครือข่ายอุโมงค์ใต้ดิน” ที่ฉนวนกาซา นี่คือ “อาวุธลับ” ของฝ่ายฮามาสที่อิสราเอลต้องหาทางแก้ปมให้ได้ หากต้องการจะ “บดขยี้” ศัตรูติดอาวุธที่ใช้ยุทธศาสตร์ทั้งแบบกองโจรและทันสมัยในการต่อกรกับกองทัพอิสราเอล

เตรียมความพร้อมประเทศไทย สู่ฮับ ‘เอไอ และ เทคโนโลยี’

Loading

หน่วยงานภาครัฐพร้อมที่จะผลักดันสนับสนุนให้ประเทศไทยก้าวทันต่อการเข้ามาของเทคโนโลยีเอไอ เพื่อปูทางสู่การนำไปปรับใช้กับภาคอุตสาหกรรมต่าง ๆ หลายปีที่ผ่านมา ปัญญาประดิษฐ์ หรือ เอไอ เป็นที่พูดถึงในวงกว้างทั้งจากหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ซึ่งต่อมา กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ได้ร่วมกับกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม จัดทำ “แผนปฏิบัติการด้านปัญญาประดิษฐ์แห่งชาติเพื่อการพัฒนาประเทศไทย”

ข้อดีและข้อเสียของปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence)

Loading

หากพูดถึงเทคโนโลยีที่จะเปลี่ยนแปลงโลกในทศวรรษหน้าปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) เป็นตัวเลือกแรก ๆ ที่หลายคนนึกถึง กล่าวกันว่านี่คือ เทคโนโลยีที่จะเป็นตัวชี้ขาดระหว่างประเทศผู้นำด้านนวัตกรรมและประเทศผู้ตามในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี

กฎหมายแพลตฟอร์มดิจิทัล 2 ฉบับ แตกต่าง…แต่ลงตัว

Loading

เป็นที่กล่าวขานในวงกว้างสำหรับกฎหมาย DPS (Digital Platform Services) หรือ พระราชกฤษฎีกา การประกอบธุรกิจบริการแพลตฟอร์มดิจิทัลที่ต้องแจ้งให้ทราบ พ.ศ. 2565 ซึ่งมีผลบังคับใช้เป็นที่เรียบร้อยตั้งแต่วันที่ 21 สิงหาคม 2566 ฎหมายฉบับนี้จะถูกใช้เป็นกรอบในการกำกับดูแลการประกอบธุรกิจแพลตฟอร์มดิจิทัล

กฎหมาย DPS คืออะไร วิธีการแจ้งข้อมูล ตามกฎหมาย DPS

Loading

กฎหมาย DPS คืออะไร DPS ย่อมาจาก Digital Platform Services หรือชื่อทางการคือ พระราชกฤษฎีกา การประกอบธุรกิจบริการแพลตฟอร์มดิจิทัล ที่ต้องแจ้งให้ทราบ พ.ศ. 2565 ซึ่งบังคับใช้อย่างเป็นทางการแล้วเมื่อ 21 สิงหาคม 2566 ที่ผ่านมา กฎหมายนี้เพื่อคุ้มครองผู้ใช้แพลตฟอร์มดิจิทัล ลดความเสี่ยงจากการฉ้อโกงออนไลน์