ตุยแล้ว ‘ข้อมูลดิจิทัล’ ไปไหน? ผู้คนหวั่นตัวตนดิจิทัลโดนขโมยหลังเสียชีวิต
ผลการศึกษาล่าสุด โดย “แคสเปอร์สกี้ (Kaspersky)” ระบุว่า ผู้ใช้ 61% เชื่อว่า ข้อมูลประจำตัวของผู้เสียชีวิตมีความเสี่ยงที่จะถูกโจรกรรม
ผลการศึกษาล่าสุด โดย “แคสเปอร์สกี้ (Kaspersky)” ระบุว่า ผู้ใช้ 61% เชื่อว่า ข้อมูลประจำตัวของผู้เสียชีวิตมีความเสี่ยงที่จะถูกโจรกรรม
สะเทือนไปทุกย่อมหญ้าเมื่อกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (กระทรวงดีอี) ออกมาประกาศชัดว่า ”โทรจันธนาคารบนมือถือ” เป็นภัยคุกคามที่ร้ายแรงที่สุดของประเทศไทย โดยสาเหตุที่ยกตำแหน่งแชมป์ให้ภัยนี้ คือ การก่อให้เกิดความเสียหายถึง 2.6 พันล้านบาท
เว็บไซต์ The Hackernews รายงานเมื่อ 8 ก.ค.67 ว่า กลุ่มผู้ก่อภัยคุกคามขั้นสูง (APT) ใหม่ ชื่อว่า CloudSorcerer ซึ่งยังไม่มีการบันทึกข้อมูลไว้ก่อนหน้านี้ กำลังโจมตีหน่วยงานของรัฐบาลรัสเซียที่การใช้บริการคลาวด์ เช่น Microsoft Graph, Yandex Cloud และ Dropbox โดยทำการสั่งการและควบคุม (command-and-control หรือ C2) และการขโมยข้อมูลของเหยื่อ ทั้งนี้ รูปแบบการโจมตีของกลุ่ม CloudSorcerer คล้ายคลึงกับกลุ่ม CloudWizard แต่แตกต่างกันที่ซอร์สโค้ดของมัลแวร์
รัฐบาลสหรัฐ มีคำสั่งห้าม “แคสเปอร์สกี” ซึ่งเป็นบริษัทการรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์ในรัสเซีย ไม่ให้จำหน่ายผลิตภัณฑ์แอนตี้ไวรัสยอดนิยมในสหรัฐ เนื่องจากมีความกังวลเกี่ยวกับความมั่นคงของชาติ
“แคสเปอร์สกี้” เปิดรายงาน “ความปลอดภัยทางไซเบอร์” ล่าสุด พบการโจมตีที่เป็นอันตรายจากเซิร์ฟเวอร์ที่โฮสต์ในประเทศไทยกว่า 3 แสนเหตุการณ์ โดยรวมสถานการณ์รุนแรงกว่าที่คิด การละเมิดข้อมูลในประเทศไทยจำนวนเพิ่มมากขึ้นอย่างเห็นได้ชัด
แคสเปอร์สกี้ (Kaspersky) เปิดรายงานความปลอดภัยทางไซเบอร์ปี 2023 ของไทย ตรวจพบและบล็อกภัยคุกคามทางเว็บที่มีเป้าหมายโจมตีผู้ใช้เกือบ 13 ล้านรายการ ปัจจุบันภัยคุกคามทางไซเบอร์เป็นเรื่องที่เกิดและพบบ่อยครั้ง โดยเฉพาะเมื่อมีการรายงานจากสื่อต่างๆ การโจมตีทางไซเบอร์เหล่านี้ส่วนใหญ่ส่งผลกระทบต่อประชาชนจำนวนมาก ซึ่งรวมถึงการโจมตีทางไซเบอร์บนแพลตฟอร์มโซเชียลมีเดีย เว็บไซต์ซึ่งเก็บข้อมูลส่วนบุคคล หรือแอปพลิเคชันบนโทรศัพท์มือถือ ซึ่งที่ผ่านมาภัยคุกคามทางไซเบอร์สร้างความเสียหายทั้งต่อเศรษฐกิจระดับประเทศ ธุรกิจเอกชน รวมถึงประชาชนทั่วไปมากยิ่งขึ้นทุกที ในปี 2023 ผลิตภัณฑ์ของแคสเปอร์สกี้ตรวจพบความพยายามในการคุกคามเว็บจำนวน 12,923,280 รายการบนคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้ในประเทศไทยที่เข้าร่วม Kaspersky Security Network (KSN) ซึ่งมีสัดส่วนน้อยกว่าปีที่แล้ว 25.28% (17,295,702 รายการ) การโจมตีผ่านเว็บเบราว์เซอร์ เป็นวิธีการหลักในการแพร่กระจายโปรแกรมที่เป็นอันตราย การใช้ประโยชน์จากช่องโหว่ในเบราว์เซอร์และปลั๊กอิน (ไดรฟ์บายดาวน์โหลด) รวมถึงวิศวกรรมสังคม เป็นวิธีที่อาชญากรไซเบอร์ใช้ในการเจาะระบบโดยทั่วไปมากที่สุด แคสเปอร์สกี้ตรวจพบเหตุการณ์โจมตีแบบออฟไลน์จำนวน 22,268,850 รายการ ซึ่งเป็นจำนวนมากกว่าปีที่แล้ว 4.36% (22,268,850 รายการ) โดยส่วนใหญ่แล้ว เวิร์มและไฟล์ไวรัสเป็นสาเหตุของการติดเชื้อในเครื่อง ข้อมูลนี้แสดงให้เห็นถึงความถี่ที่ผู้ใช้ถูกโจมตีโดยมัลแวร์ที่แพร่กระจายผ่านไดรฟ์ USB แบบถอดได้ ซีดี…
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว