ผู้ใช้ Android ระวังมัลแวร์ Vultur ปลอมตัวเป็นแอนตี้ไวรัสดัง McAfee ลอบเข้าเครื่อง

Loading

เมื่อพูดถึงชื่อ McAfee แล้วหลายคนคงนึกถึงโปรแกรมแอนตี้ไวรัสชื่อดังที่เป็นที่นิยมมาตั้งแต่สมัยยุควินโดวส์ 95 ที่เด็กยุค 90 หลายคนน่าจะมีความคุ้นเคยกันดี แต่วันนี้ชื่อนี้ได้กลับมาเป็นข่าวอีกครั้ง แต่กลับเป็นข่าวที่ไม่ค่อยดีเท่าไหร่สำหรับผู้ที่ใช้งานโทรศัพท์มือถือ Android

กสทช. ระงับเบอร์โทรศัพท์ผู้ถือครองซิมการ์ด 101 เบอร์ขึ้นไปเพราะอะไร?

Loading

กสทช. ระงับเบอร์โทรศัพท์ผู้ถือครองซิมการ์ด 101 เบอร์ขึ้นไป ซึ่งนับหลังจากที่ สำนักงาน กสทช. กำหนดให้ผู้ถือครองซิมจำนวนมาก ตั้งแต่ 6 เลขหมายขึ้นไปมายืนยันตัวตน โดยมีผลบังคับใช้ในวันที่ 16 ม.ค. 2567 มาถึงวันนี้ 14 ก.พ. 2567 ซึ่งเป็นวันสุดท้ายสำหรับกลุ่มผู้ถือซิมการ์ด 101 เบอร์ขึ้นไป หากไม่มีการยืนยันตัวตนภายในระยะเวลาที่กำหนด จะถูกระงับการใช้งาน และถูกเพิกถอนไปในที่สุด

จาก ‘สแกนหน้า’ ถึง ‘แฮกบัญชี’ ภาพจริง ‘ข่าวไซเบอร์’ ในสังคมไทย

Loading

สัปดาห์ที่ผ่านมาตำรวจแถลงข่าว “ปฏิบัติการล่าทรชน คนค้าข้อมูล” และมีการนำเสนอโปรแกรมเมอร์วัย 28 ปี คนหนึ่งมาสาธิตโปรแกรมที่เขาพัฒนาขึ้น เพื่อขายให้กับกลุ่มมิจฉาชีพ เป็นโปรแกรมที่สามารถเข้าไปแก้ไขโค้ดของแอปพลิเคชันธนาคารให้ยกเลิกเงื่อนไขการสแกนหน้า

โปรดระวัง! ‘กรมบัญชีกลาง’ เตือนภัย ‘ลิงก์ปลอมระบาด’ ขออย่ากด อย่าแชร์

Loading

วันที่ 11 พฤศจิกายน 2566 นางสาวทิวาพร ผาสุข รองอธิบดีกรมบัญชีกลาง ในฐานะโฆษกกรมบัญชีกลาง เปิดเผยว่า ตามที่มีการแชร์ข้อมูลในสื่อโซเชียลโดยให้ดาวน์โหลดแอปพลิเคชันระบบบำเหน็จบำนาญและสวัสดิการรักษาพยาบาล หรือระบบ Digital Pension

ตำรวจไซเบอร์เผยจับกุมวิศวกรขายซอฟต์แวร์โอนเงินโดยไม่ต้องพึ่งแอปธนาคาร ด้านแบงก์ชาติบอกช่องโหว่เก่า

Loading

กองบัญชาการตำรวจสืบสวนสอบสวนอาชญากรรมทางเทคโนโลยี (ตำรวจไซเบอร์) เผยผลการจับกุมนายณัฐพงษ์ วิศวกรวัย 28 ปี ผู้ต้องหาในจังหวัดกาฬสินธุ์ที่ขายซอฟต์แวร์ API Bypass Face Scan ที่สามารถนำไปใช้ถอนเงินจากบัญชีธนาคารแห่งหนึ่งโดยไม่ต้องใช้แอปธนาคาร

Grayware คืออะไร ? อาจไม่อันตราย ไม่ใช่มัลแวร์ แต่โดนแล้วว้าวุ่นนะจ๊ะ

Loading

คำว่า Grayware (หรือ Greyware) อาจเป็นคำที่ไม่คุ้นหูชาวไทยเรากันมากนัก นิยามของตัวมันเองอาจไม่ใช่มัลแวร์ (Malware) โดยตรง โดยคำว่า Grayware จะใช้เมื่อเราเอ่ยถึงกลุ่มซอฟต์แวร์ที่อยู่ระหว่างความเป็นมัลแวร์ กับซอฟต์แวร์ที่ถูกต้องตามกฏหมาย คือพฤติกรรมของมันอาจไม่ได้อันตรายถึงขึ้นที่จะเป็นมัลแวร์ แต่มันก็สามารถสร้างความรำคาญ หรือทำอะไรบางอย่างที่ผู้ใช้งานไม่ต้องการ