ทำความรู้จัก ‘ซอว์ ชิต ตู’ ตัวละครสำคัญในพื้นที่ยุทธศาสตร์ ‘เมียวดี’

Loading

สำนักข่าวรอยเตอร์ออกรายงานเมื่อวันพฤหัสบดี เกี่ยวกับพันเอก ซอว์ ชิต ตู (Saw Chit Thu) ซึ่งแสดงบทบาทคลุมเครือต่อรัฐบาลเมียนมา และจุดยืนลักษณะนี้ทำให้เขามีอิทธิพลสำคัญต่ออนาคตของการต่อสู้ในพื้นที่ยุทธศาสตร์ติดชายแดนไทย

KNU ลั่นถอนกำลังจากเมียวดีแค่ชั่วคราว แฉกะเหรี่ยง KNA กลับลำ ช่วยทหารพม่า

Loading

โฆษกสหภาพแห่งชาติกะเหรี่ยง หรือ KNU ลั่นกองกำลัง KNU ถอนกำลังจากเมืองเมียวดีแค่ชั่วคราว หลังกองกำลังกะเหรี่ยง KNA ช่วยทหาร รบ. ทหารพม่ากลับมายึดเมียวดีคืน และทหารพม่ากลับไปยังค่ายผาซองอีกครั้ง

วิเคราะห์อนาคตเมืองสแกมเมอร์ทุนจีนในเมียวดี ทำไมยังอาจรอดปลอดภัยท่ามกลางไฟสงคราม

Loading

พ.อ.ชิต ตุ ผู้นำกองกำลังกะเหรี่ยงแห่งชาติหรือเคเอ็นเอ (Karen National Army-KNA) ซึ่งเคยเป็นกองกำลังพิทักษ์ชายแดนกะเหรี่ยงหรือกะเหรี่ยงบีจีเอฟ (Karen Border Guard Force-Karen BGF) ให้กับกองทัพเมียนมาเพื่อดูแลรักษาพื้นที่ชายแดนรัฐกะเหรี่ยงที่อยู่ติดกับชายแดนไทย กำลังเป็นตัวแปรสำคัญในสนามประลองยุทธ์ในเมืองเมียวดี ซึ่งมีการปะทะกันระหว่างกองกำลังฝ่ายต่อต้านที่นำโดยสหภาพกะเหรี่ยงแห่งชาติหรือเคเอ็นยู (Karen National Union-KNU) และกองทัพเมียนมา

การบังคับเกณฑ์ทหารกับวิกฤตระดับอาเซียน

Loading

สัญญาณบอกเหตุว่ากองทัพพม่ากำลังอ่อนแอลงอย่างสุดขีด และความพยายามรักษาอำนาจหลังรัฐประหารปี 2021 มาถึงทางตันแล้ว คือการประกาศแผนการบังคับเกณฑ์ทหารทั้งชายและหญิงที่ยังอยู่ในวัยทำงาน อายุตั้งแต่ 18-35 ปี สำหรับผู้ชาย และ 18-27 ปี สำหรับผู้หญิง การประกาศในลักษณะนี้ไม่ได้เพิ่งเกิดขึ้นครั้งแรก เพราะรัฐบาลทหารในยุคก่อนหน้านี้เคยออกกฎหมายบังคับเกณฑ์ทหารในช่วงบ้านเมืองเจอศึกสงครามและทหารขาดแคลน แต่การต่อสู้ของ SAC หรือคณะรัฐประหารพม่าในครั้งนี้ไม่ใช่ “สงคราม” เพื่อปกป้อง “ชาติ” หากแต่เป็นการปกป้องผลประโยชน์ของตนเองมากกว่าอื่นใด