การสอน AI ด้วยข้อมูลส่วนบุคคล (โดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย)

Loading

วิธีการหนึ่งซึ่งนิยมแพร่หลาย คือ web scraping ซึ่งเป็นวิธีการคัดลอกหรือดูดข้อมูลจากหน้าเว็บไซต์ที่เปิดเผยต่อสาธารณะ เช่น พฤติกรรม ข้อความ รูปภาพ ข้อมูลติดต่อและอื่น ๆ ตามรูปแบบที่กำหนดเพื่อนำข้อมูลไปวิเคราะห์ตามจุดประสงค์ต่าง ๆ

ก.ต.ช. แนะ 4 ทางรอดโมเดลปลอดภัยไซเบอร์ หนุนแก้ กม. เอาผิดคนทำข้อมูลรั่ว

Loading

วันที่ 25 ก.พ. 67 ผศ.ดร.นพดล กรรณิกา ผู้ก่อตั้งสำนักวิจัยซูเปอร์โพลและศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยจอร์ชทาวน์ วอชิงตัน ดีซี สหรัฐอเมริกาด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์และการจัดการความเสี่ยง กล่าวว่า ในฐานะผู้แทนภาคประชาชนในกรรมการนโยบายตำรวจแห่งชาติ (ก.ต.ช.) ที่เป็นอีกบทบาทหนึ่งเกี่ยวข้องกับนโยบายตำรวจแห่งชาติดูแลความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนที่มีแนวโน้มของปัญหาเดือดร้อนของประชาชนเพิ่มขึ้น

ซูเปอร์โพล คนกังวลความปลอดภัย หนุนยกระดับความปลอดภัยไซเบอร์เป็นวาระแห่งชาติ

Loading

วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2567 ผศ.ดร.นพดล กรรณิกา ผู้ก่อตั้งสำนักวิจัยซูเปอร์โพล และศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยจอร์จทาวน์ วอชิงตัน ดีซี สหรัฐอเมริกา ด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์และการจัดการความเสี่ยง กล่าวว่า ในฐานะผู้แทนภาคประชาชนในคณะกรรมการนโยบายตำรวจแห่งชาติ (ก.ต.ช.) ที่เป็นอีกบทบาทหนึ่งเกี่ยวข้องกับนโยบายตำรวจแห่งชาติ ดูแลความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ที่มีแนวโน้มของปัญหาเดือดร้อนของประชาชนเพิ่มขึ้น มาจากกรณีเงินถูกโจรกรรมในโลกออนไลน์ที่ผ่านมาอย่างต่อเนื่อง

ผู้ใช้งานในยุโรปจะเลือกได้ว่าจะแบ่งปันข้อมูลส่วนตัวให้บริการต่าง ๆ ของ Google ได้มากน้อยแค่ไหน

Loading

Google เผยว่าผู้ใช้งานในยุโรปจะสามารถเลือกได้ว่าจะแบ่งปันข้อมูลของตัวเองกับบริการต่าง ๆ ของ Google ได้มากน้อยแค่ไหน เพื่อทำตามกฎหมายตลาดดิจิทัลของสหภาพยุโรป โดยผู้ใช้จะกำหนดได้ว่าจะแบ่งปันข้อมูลให้กับทุกบริการ บางบริการ หรือไม่ให้เลยแม้แต่บริการเดียว

รู้แล้วหนาว! “โจรไซเบอร์”อยู่กับตัว แฉข้อมูลคนไทยรั่วไหลเข้ามือโจรไซเบอร์ แนะ รบ.ยกระดับความปลอดภัย สางกม.ไซเบอร์ใหม่

Loading

วันนี้( 13 ธ.ค.) ผศ.ดร.นพดล กรรณิกา ที่ปรึกษามูลนิธิสถาบันวิจัยความสุขชุมชน ที่ตั้ง ณ มหาวิทยาลัยมหิดล ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยจอร์ชทาวน์ วอชิงตัน ดีซี ด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์และที่ปรึกษาหลักสูตรความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม เปิดเผยว่า ในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา ประเทศไทยมีอุบัติการณ์การโจมตีทางไซเบอร์ (Cyber Attacks) การเจาะระบบและการโจรกรรมข้อมูลของสายการบินในประเทศไทย