กูเกิลปรับระบบ Google Safe Browsing เช็คเว็บอันตรายกับเซิร์ฟเวอร์ ทำงานเรียลไทม์

Loading

กูเกิลประกาศปรับกระบวนการทำงานของ Google Safe Browsing ใน Chrome ทั้งบนเดสก์ท็อปและมือถือ ที่ผ่านมาการทำงานของ Safe Browsing ใช้วิธีดาวน์โหลดรายชื่อเว็บไซต์อันตรายมาเก็บไว้ในเครื่องเป็น local list แล้วค่อยตรวจสอบว่าเว็บที่ผู้ใช้เข้าตรงกับรายชื่อหรือไม่ รายชื่อจะอัพเดตทุกๆ 30-60 นาที ทำให้เกิด “ช่องว่างเวลา” ที่อาจมีเว็บเกิดใหม่ขึ้นมา หรือเว็บอันตรายที่ใช้วิธีเปิดๆ ปิดๆ เพื่อหลบการตรวจจับ (สถิติของกูเกิลบอกว่าเว็บอันตรายเหล่านี้จะเปิดมาเฉลี่ยประมาณ 10 นาทีแล้วปิดไป)

Google Chrome ระบุ ขอติดตามข้อมูลระหว่างใช้โหมดไม่ระบุตัวตน

Loading

ย้อนกลับไปเมื่อปี 2020, Google ถูกฟ้องร้องกรณีโหมดไม่ระบุตัวตนหรือ Incognito Mode ยังมีการเก็บข้อมูลโดยไม่แจ้งผู้ใช้งาน หลังจาก Google ยอมความในคดีนี้แล้ว ก็มีการปรับข้อความเพื่อความโปร่งใสขึ้นเล็กน้อย

กูเกิล จ่ายค่าปรับส่งท้ายแสนล้าน Incognito ไม่ลับจริงแอบเก็บข้อมูลลูกค้า

Loading

รอยเตอร์สรายงานว่า บริษัทกูเกิล อิงค์ ได้ตกลงยอมความในศาลที่แคลิฟอร์เนียวันนี้ (29 ธ.ค.) กรณีที่ถูกฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายอย่างน้อย 5,000 ล้านดอลลาร์ (ราว 1.7 แสนล้านบาท) ซึ่งผู้เสียหายอ้างว่าโหมดปกปิดตัวตน (Incognito) ในเบราเซอร์กูเกิลโครม (Chrome) ยังคงมีการแอบเก็บข้อมูลผู้ใช้งานนับล้านคน ทั้งที่ผู้ใช้งานเลือกเข้าโหมดนี้ เพื่อเข้าดูเว็บไซต์ต่าง ๆ อย่างเป็นความลับ

พบช่องโหว่ Zero-day ใหม่บน Chrome รอบ 6 ในปี 2023 รีบอัปเดตเพื่อปิดช่องโหว่

Loading

Google ได้เปิดตัวการอัปเดตความปลอดภัยที่สำคัญสำหรับผู้ใช้ Chrome บนระบบปฏิบัติการ Windows, Mac และ Linux เพื่อแก้ไขช่องโหว่แบบ Zero-day ชื่อ CVE-2023-6345 ถูกค้นพบโดย Threat Analysis Group ของ Google เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน ที่ผ่านมา โดยไม่มีอธิบายรายละเอียดไว้เพื่อหลีกเลี่ยงการให้ข้อมูลแก่กลุ่มแฮ็กเกอร์

เทคนิคใหม่ ใช้ช่องโหว่ iFrame ขโมยข้อมูลจากหน้าเว็บ

Loading

iFrame ย่อมาจาก inline frame เป็นองค์ประกอบของ HTML ที่ใช้เพื่อฝังเนื้อหาจากเว็บไซต์อื่นลงในหน้าเว็บเราหรือเว็บอื่นได้ ตัวอย่างเช่น เราสามารถใช้ iFrame เพื่อฝังวิดีโอจาก YouTube หรือแผนที่จาก Google Maps ลงในหน้าเว็บเรา