รู้ทัน 6 กลโกง ภัยแฝงหารายได้เสริมออนไลน์ รับมืออย่างไร ไม่ให้โดนหลอก

Loading

      ปัจจุบัน งานออนไลน์ มีให้เลือกมากมายตามความสมัครใจ ทั้งคำชวนเชื่อที่ว่า ทำง่ายๆ ไม่ยุ่งยาก อยู่บ้านก็ทำได้ หรือสุดแท้แต่จะเชิญชวน หากเจอบริษัทดีก็ดีไป แต่หากเจอมิจฉาชีพแฝงตัวมาหลอก ก็ต้องน้ำตาตกในไปตามๆ กัน   เว็บไซต์ ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม ประเทศไทย เผย 6 วิธีรับมือ เมื่อโดนหลอกให้ทำงาน หารายได้เสริมออนไลน์ ดังนี้ 1. หากพบคำเชิญชวนให้ทำงานออนไลน์ ผ่านทาง SMS หรือโฆษณาผ่านสื่อสังคมออนไลน์ เช่น Facebook, Instagram, Twitter อย่าเข้าไปติดต่อสมัครเด็ดขาด โดยเฉพาะโพสต์ที่แอบอ้างสัญลักษณ์ของหน่วยงานราชการ หรือบริษัทที่เกี่ยวข้องมาเพิ่มความน่าเชื่อถือ แต่มิได้เป็นช่องทางทางการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยตรง   2. ให้หลีกเลี่ยงข้อเสนอที่ฟังดูดีเกินจริง โดยเฉพาะงานที่มีผลตอบแทนสูง ทำง่าย ขั้นตอนไม่ยุ่งยาก   3. ให้ปรึกษาสายด่วนของตำรวจไซเบอร์ ที่หมายเลข 1441 เพื่อปรึกษาว่างานดังกล่าว เป็นมิจฉาชีพหรือไม่   4. หากงานออนไลน์ดังกล่าวมีเงื่อนไขว่า ให้วางเงินมัดจำ…

ตำรวจไซเบอร์เตือน! มิจฉาชีพสร้าง “เพจที่พักปลอม” อ้างดีลสงกรานต์ราคาถูก หลอกโอนเงินแล้วเชิดหนี

Loading

เมื่อวันที่ 6 เม.ย.68 เพจ ตำรวจไซเบอร์ กองบัญชาการสืบสวนสอบสวนอาชญากรรมทางเทคโนโลยี (บช.สอท.) ออกประกาศเตือนภัยประชาชนให้ระวังกลุ่มมิจฉาชีพสร้าง เพจเฟซบุ๊กปลอมแอบอ้างเป็นที่พักชื่อดัง โดยอ้างว่าเป็น “ที่พักหลุดจอง” หรือ “ดีลพิเศษช่วงสงกรานต์” พร้อมเสนอราคาถูกผิดปกติ เพื่อหลอกให้เหยื่อโอนเงินมัดจำก่อนจะหายตัวไป ไม่สามารถติดต่อได้อีก

‘ตร.ไซเบอร์’ เตือนระวังกรมสรรพากรปลอม อ้างให้สิทธิ์ลดหย่อนภาษี

Loading

เรียกได้ว่าเป็นกระแสที่กลายเป็นไวรัลอย่างมากอยู่ในขณะนี้ หลังเมื่อวันที่ 16 มี.ค. 68 มีผู้ใช้เพจเฟซบุ๊ก “ตำรวจไซเบอร์ – บช.สอท.” ได้ออกมาโพสต์ข้อความเตือนประชาชน เมื่อมิจฉาชีพส่ง Email แอบอ้างเป็นกรมสรรพากร และแจ้งว่ามีโครงการลดหย่อนภาษี โดยจะให้กรอกข้อมูลส่วนตัวเพื่อล้วงข้อมูลสำคัญนั่นเอง

เตือนภัย ‘แอปฯ ปลอม’ ลวงกดลิงก์ดูดเงิน

Loading

พล.ต.ท.ไตรรงค์ ผิวพรรณ ผู้บัญชาการกองบัญชาการสืบสวนสอบสวนอาชญากรรมทาง เทคโนโลยี (ผบช.สอท.) พร้อมเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง แถลงข่าวเตือนภัย แอป Digital Pension แอปกรมบัญชีกลางปลอม บน Play Store ปลอม

เปิดรายชื่อ 22 เว็บอันตราย ขโมยข้อมูลส่วนตัว-หลอกโอนเงิน ห้ามคลิกเด็ดขาด

Loading

ในปัจจุบันมิจฉาชีพออนไลน์ มีหลากหลายรูปแบบมากมาย แถมยังรู้ข้อมูลส่วนตัวของเราอย่างดี ทำให้เป็นกลลวงที่น่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้น และมีคนหลงเชื่อและตกเป็นเหยื่อจำนวนมาก และมิจฉาชีพพวกนี้มักจะหากลยุทธ์ใหม่ๆ อยู่เสมอพล.ต.ท.ไตรรงค์ ผิวพรรณ ผู้บัญชาการตำรวจสืบสวนสอบสวนอาชญากรรมทางเทคโนโลยี ได้ออกมาเตือนประชาชน 22 เว็บมิจฉาชีพที่ห้ามกด

ตำรวจไซเบอร์ฝากความห่วงใย ใช้งานเว็บไซต์ ระวัง CAPTCHA ปลอม

Loading

ปัจจุบันมิจฉาชีพทำ CAPTCHA ปลอมในลักษณะทำหน้าตาหน้าต่างๆ ให้เหมือน CAPTCHA ปกติ แต่จะหลอกล่อให้ผู้ใช้งาน ทำตามคำสั่งของมัน เช่น ในภาพ แล้วถ้าเราทำตามมันไปเรื่อยๆ มันจะฝังมัลแวร์ ไวรัสคอมพิวเตอร์ลงเครื่อง ซึ่งอาจนำไปสู่การถูกควบคุมระบบ หรือ การถูกขโมยสินทรัพย์ต่าง ๆ เช่น เงินในบัญชีธนาคาร และคริปโตได้