สิงคโปร์โมเดล ถอดบทเรียน “จัดการภัยออนไลน์” ที่ไทยควรเอาอย่าง กฎหมายไทยพร้อมหรือยัง

Loading

ภัยคุกคามออนไลน์ ไม่ได้เกิดกับแต่วัยรุ่นเท่านั้น ผลสำรวจของ AsiaOne ในต้นปี 2025 ชี้ว่า 38 % ของคนสิงคโปร์ ทุกช่วงวัยเคยถูกคุกคามทางออนไลน์ (หรือเห็นคนใกล้ชิดถูกคุกคาม) ภายใน 2 ปีที่ผ่านมา และ “แทบทุกคน” ให้คะแนนผลกระทบทางอารมณ์ระดับ 4–5 จาก 5 คะแนนเต็ม ตัวเลขนี้ทำลายมายาคติที่ว่า วัยทำงาน มักเชื่อว่าตนโตพอจะรับมือ ก็ยังเป็นเหยื่อได้ง่ายพอ ๆ กับเยาวชน

เดนมาร์กปรับกฎหมายใหม่ ชาติแรกยุโรป สู้ Deepfake หยุด AI ขโมยตัวตน ใบหน้า เสียง ลิขสิทธิ์ส่วนบุคคล

Loading

รัฐบาลเดนมาร์กประกาศเตรียมยกระดับการคุ้มครองตัวตนดิจิทัลของประชาชน ผ่านการแก้ไขกฎหมายลิขสิทธิ์เพื่อสกัดกั้นการสร้างและเผยแพร่เนื้อหา Deepfake ที่สร้างจาก AI โดยกฎหมายนี้ถือเป็นกฎหมายฉบับแรกในยุโรป ที่มีเป้าหมายให้ประชาชนทุกคนสามารถยืนยันสิทธิในการเป็นเจ้าของร่างกาย ใบหน้า และเสียงของตัวเอง

พบการใช้เสียง AI ปลอมเป็น รมว.ต่างประเทศ​สหรัฐ​ฯ​

Loading

เมื่อ 8 ก.ค. 2568 กระทรวงต่างประเทศของสหรัฐฯ เปิดเผยว่า พวกเขากำลังสืบสวนกรณีตัวปลอมใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) แสร้งทำตัวเป็นนายมาร์โก รูบิโอ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศสหรัฐฯ และติดต่อหารัฐมนตรีต่างชาติถึง 3 คนตัวปลอมซึ่งยังไม่รู้ที่มาผู้นี้ ใช้ระบบสร้างเสียงสังเคราะห์ด้วย AI ปลอมเป็นนายรูบิโอแล้วใช้แอปพลิเคชัน “ซิกแนล”

‘ความมั่นคงปลอดภัย’ เงื่อนไขการอยู่รอด ‘องค์กรยุคดิจิทัล’

Loading

AI: ดาบสองคมในโลกยุคไซเบอร์ ปัจจุบัน ปัญญาประดิษฐ์ (AI) กลายเป็นหัวใจสำคัญของทั้งฝ่ายป้องกันและฝ่ายโจมตีในโลก ไซเบอร์ ฝ่ายป้องกันเริ่มใช้ AI ตรวจจับความผิดปกติ วิเคราะห์พฤติกรรม และตอบสนองภัยคุกคามได้แบบเรียลไทม์ ขณะที่แฮกเกอร์ก็ใช้ AI พัฒนา “มัลแวร์อัจฉริยะ” ที่เรียนรู้และปรับตัวได้เอง

ระวัง! ภัยคุกคาม ‘AI’ ระบาดหนักทั่วภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก

Loading

ผู้เชี่ยวชาญของแคสเปอร์สกี้ระบุว่า ในปี 2567 มีการโจมตีด้วยมัลแวร์มากกว่า 3 พันล้านครั้งทั่วโลก โดยตรวจพบไฟล์อันตรายเฉลี่ย 467,000 ไฟล์ต่อวัน ระบบวินโดวส์ถูกโจมตีบ่อยที่สุด และพบการตรวจจับโทรจันเพิ่มขึ้น 33% เมื่อเทียบเป็นรายปี

ทรัมป์ลงนามอนุมัติกฎหมายการเผยแพร่ภาพลับที่ไม่ได้รับความยินยอมเป็นสิ่งผิดกฎหมาย

Loading

โดนัลด์ ทรัมป์ ประธานาธิบดีสหรัฐฯ ได้ลงนามอนุมัติกฎหมาย Take It Down Act เพื่อกำหนดให้การเผยแพร่ภาพหรือวิดีโอส่วนตัวโดยไม่ได้รับความยินยอม (NCII) เป็นสิ่งผิดกฎหมาย รวมถึงภาพหรือวิดีโอที่สร้างด้วย AI ที่เรียกกันว่า deepfake และกำหนดให้แพลตฟอร์มออนไลน์ต้องลบภาพดังกล่าวออกทันทีเมื่อได้รับแจ้ง โดยมี เมลาเนีย ทรัมป์ สุภาพสตรีหมายเลขหนึ่ง เป็นผู้สนับสนุนและช่วยผลักดันให้กฎหมายฉบับนี้ผ่านสภาผู้แทนราษฏร