Cloudflare เผยป้องกันการโจมตี DDoS ครั้งใหญ่ที่สุดที่เคยมีมา ระดับ 5.6 Tbps ได้แบบสบาย ๆ

Loading

Cloudflare ประกาศความสำเร็จในการป้องกันการโจมตี DDoS ครั้งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2024 การโจมตีครั้งนี้มาจาก Botnet สายพันธุ์ Mirai ซึ่งใช้อุปกรณ์ IoT กว่า 13,000 ชิ้น ส่งข้อมูลระดับสูงสุดถึง 5.6 เทระบิตต่อวินาที (Tbps) เพื่อโจมตีผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตในเอเชียตะวันออก

มัลแวร์ Gorilla Botnet รุ่นใหม่ ยิง DDoS กว่า 3 แสนครั้ง ใส่เหยื่อกว่า 100 ประเทศทั่วโลก

Loading

DDoS หรือ Distributed Denial of Service นั้นเป็นการระดมยิงแพ็คเกจข้อมูลจำนวนมากใส่เครื่องเป้าหมายเพื่อให้ระบบรวน หยุดการทำงาน โดยอาจใช้เพื่อการก่อกวน หรือเพื่อเปิดช่องให้แฮกเกอร์ทำการเข้าแฮกระบบเนื่องจากระบบป้องกันได้อ่อนแอลงก็ได้ ซึ่งการที่จะทำได้นั้นต้องมีการสร้างเครื่องที่ช่วยยิง หรือซอมบี้ จำนวนมากผ่านทางมัลแวร์

ช่องโหว่ ‘Zero-day’ โจทย์สุดหิน ทีมซิเคียวริตี้องค์กร

Loading

Cloudflare เปิดข้อมูลเชิงลึกพบสถิติใหม่ของการใช้ประโยชน์จากช่องโหว่ Zero-day แบบใหม่ ซึ่งเป็นการโจมตี DDoS ครั้งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ของอินเทอร์เน็ต และเป็นภัยคุกคามต่อห่วงโซ่อุปทานยิ่งขึ้น

รีสอร์ทหรูในสิงคโปร์ โดนแฮ็กข้อมูลลูกค้า 665,000 ราย

Loading

เอเอฟพีรายงาน เมื่อวันอังคารที่ 7 พฤศจิกายน 2566 กล่าวว่า เดอะ มารีนา เบย์ แซนด์ส (The Marina Bay Sands) โรงแรมและรีสอร์ทหรูในสิงคโปร์เปิดเผยการรั่วไหลของข้อมูลส่วนบุคคลที่เป็นสมาชิกโปรแกรมสะสมคะแนนการช้อปปิ้ง

อะไรกันอยู่ดี ๆ ก็โดนแฮ็ก ! รับมืออย่างไรในวันที่มิจฉาชีพก็ปรับตัวตามโลกดิจิทัล

Loading

ในโลกที่เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว อีกทั้งยังมีการแพร่ระบาดของ COVID-19 เข้ามาเป็นปัจจัยเร่งชั้นดีให้พวกเราปรับตัวเข้าสู่โลกออนไลน์ หลายองค์กรก็ได้เร่งทำ Digital Transformation ต้องบอกเลยว่ามิจฉาชีพก็ปรับตัวเองก็เช่นกัน ในโลกออนไลน์ สินทรัพย์ที่มีมูลค่าและสำคัญที่สุดคือ “ข้อมูล” เรียกได้ว่าบนโลกออนไลน์เป็นขุมทรัพย์แห่งใหม่ของเหล่ามิจฉาชีพเลยก็ว่าได้

เผยประชาชนกังวลหนัก ความไม่ปลอดภัยทางไซเบอร์ จี้ผู้มีอำนาจเร่งดูแลแก้ไข

Loading

  ผศ.ดร.นพดล กรรณิกา ผู้ก่อตั้งสำนักวิจัยซูเปอร์โพล เผยผลสำรวจเรื่อง ความไม่ปลอดภัยทางไซเบอร์ต่อความมั่นคงของชาติและประชาชน ระบุความมั่นคงของชาติและประชาชนกำลังเสี่ยงวิกฤตหนัก จี้ผู้มีอำนาจเร่งป้องกันและแก้ไข   เมื่อวันที่ 27 ส.ค. ผศ.ดร.นพดล กรรณิกา ผู้ก่อตั้งสำนักวิจัยซูเปอร์โพล (SUPER POLL) เสนอผลสำรวจ เรื่อง ความไม่ปลอดภัยทางไซเบอร์ต่อความมั่นคงของชาติและประชาชน กรณีศึกษาตัวอย่างเจ้าหน้าที่รัฐในหน่วยงานเกี่ยวข้องกับความปลอดภัยทางไซเบอร์ ดำเนินโครงการทั้งการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) และการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) รวมเจ้าหน้าที่รัฐด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์จำนวนทั้งสิ้น 223 ราย ดำเนินโครงการระหว่างวันที่ 1 – 26 สิงหาคม พ.ศ.2566 ที่ผ่านมา   พบประเด็นที่น่าเป็นห่วงอย่างยิ่งคือ เจ้าหน้าที่รัฐด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์เกินครึ่งหรือร้อยละ 51.2 เคยตกเป็นเหยื่อ ได้แก่ คลิกลิงก์ล่อเหยื่อ (Phishing) เข้าใช้งานบริการออนไลน์ไม่ได้ (DDos) ถูกหลอกดูดเงิน ถูกขโมยชื่อผู้ใช้งานและรหัส เป็นต้น ในขณะที่ร้อยละ 48.8 ไม่เคย   ที่น่าเป็นห่วงอย่างยิ่งเช่นกัน…