มิจฉาชีพขยันยันวันหยุด! แคสเปอร์สกี้แนะนำวิธีเที่ยว สงกรานต์ปลอดกลโกงออนไลน์

Loading

    แคสเปอร์สกี้ แนะนำวิธีเที่ยวสงกรานต์สบายใจห่างไกลกลโกง ออนไลน์ ชี้ภัยคุกคามทางไซเบอร์ การหลอกลวงออนไลน์มักเกิด ขึ้นถี่มากในช่วงวันหยุดเทศกาล นายเซียง เที่ยง โยว ผู้จัดการหัวไปประจ่าถนิภาคเอเชียตรวันออกเฉียงใด แคสเปอร์สก็ กล่าวถึงกับคุกคามทางไซเบอร์อย่าง การหลอกลวงออนไลน์ที่มักจะเกิดขึ้นถี่มากในช่วงวันหยุดเทศกาล   ทั้งนี้เนื่องจากช่วงวันหยุดสงกรามต์เป็นช่วงเวลาแห่งความสุข ผู้คนมีกิจกรรมมากมายทั้งงานเลี้ยง พบปะ ท่องเที่ยว เดินทาง และเป็นธรรมดาที่ผู้คนจระมัดระวังกับมาตรการความปลอดลอดภัยทางกายภาพมากกว่าการป้องกันทางออนไลน์ นิจฉายัพจึงใช้ ประโยชน์จากจุดนี้ เล่นกลกับความไว้วางใจและหลอกล่อให้เหยื่อเปิดเผยข้อมูลส่วนตัวและการเงิน มารู้จักกลโกงตัวตึงในประเทศไทย ㆍ ร้านค้าออนไลน์ปลอมล่อหลอกด้วยส่วนลด ร้านคำออมไลน์ของมิจฉาชีพจะเลียนแบบบเว็บไซด์อีคอมเมิร์ซที่ถูกกฎหมาย นำเสนอสินค้าตามเทศกาลในราคาลดพิเศษ เว็บไซต์นี้มักดูเหมือนร้านคำในพื้นพื้นที่ หวังหลอกล่อเงินจากการซื้อสินค้า เหยื่อมักจะเข้าถึงร้านค้าปลอมโดยคลิกลิงกไม โฆษณาหรือปีอปอัป ร้านคำปลอมเหล่านี้มักเปิดให้บริการเพียงช่วงสั้นๆ เพรารมักจะถูกร้านคำจริงที่ถูกกฎหมายแจ้งเตือนเสีย ก่อน ㆍ ของขวัญวันหยุดจากหน่วยงานปลอม มิจฉาชีพแอบอ้างตัวเป็นหน่วยงาน (เช่น หน่วยงานของรัฐ ธนาคาร ไปรษณีย์ กรมศุลกากร) และแจ้งว่าเหยื่อจะได้รับรางวัล จากการจับฉลาก สินค้าลดราคา ที่พักฟรีในโรงแรม หรือสิทธิประโยชน์พิเศษอื่นๆ เพียงแค่เหยื่อช่ารถเงินค่าธรรมเนียมล่าง หน้า มิจฉาชีพจะส่งลังก์ปลอมเพื่อหลอกล่อให้เหยื่อกรอกข้อมูลส่วนตัว เช่น หมายเลขบัญชีธนาคารแลชรหัสผ่าน…

เตือนภัย มิจฉาชีพใช้ QR Code เป็นเครื่องมือหลอกลวง และขโมยข้อมูลส่วนตัว

Loading

ปัจจุบัน QR Code กลายเป็นเครื่องมือสำคัญในชีวิตประจำวัน ช่วยให้ผู้ใช้งานเข้าถึงเว็บไซต์ ชำระเงิน หรือดูเมนูดิจิทัลได้อย่างรวดเร็ว แต่ขณะเดียวกัน อาชญากรไซเบอร์ก็ใช้ประโยชน์จากความนิยมนี้เพื่อก่ออาชญากรรมผ่านวิธีที่เรียกว่า QR phishing หรือ quishing โดยการล่อลวงให้เหยื่อสแกน QR Code ปลอม

รวบแฮกเกอร์ระดับโลก ฉกข้อมูลส่วนบุคคลขายตลาดมืด ไทยโดนโจมตีหลายราย

Loading

นที่ 27 ก.พ. 2568 พล.ต.ท.จิรภพ ภูริเดช ผู้บัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง (CIB)  สั่งการพล.ต.ต.อธิป พงษ์ศิวาภัย กองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเทคโนโลยี (บก.ปอท.) นำกำลังจับกุม Mr. Chia อายุ 39 ปี สัญชาติ สิงคโปร์ พร้อมยึดของกลางที่เกี่ยวข้องกับการกระทำความผิด

Ghost Ransomware โจมตีเหยื่อไปแล้ว 70 ประเทศ เตือนองค์กรทั่วโลกเร่งอัปเดตระบบ

Loading

สำนักงานความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์และโครงสร้างพื้นฐานสหรัฐฯ (CISA) ออกคำเตือนเกี่ยวกับ Ghost Ransomware ซึ่งเป็นกลุ่มแรนซัมแวร์มีแหล่งที่มาเชื่อมโยงกับประเทศจีน และกำลังแพร่ระบาดในกว่า 70 ประเทศทั่วโลก กลุ่มนี้มีลักษณะพิเศษคือสามารถเปลี่ยนจากการเข้าถึงเครือข่ายเป้าหมายไปสู่การโจมตีเต็มรูปแบบภายในเวลาเพียงวันเดียว ซึ่งเร็วกว่ากลุ่มแรนซัมแวร์ทั่วไปอย่างมาก

ตรวจจับยาก แฮกเกอร์ใช้ Deepseek ปลอมตัวตนบนโลกออนไลน์

Loading

รายงานจาก Checkpoint เปิดเผยว่าแฮกเกอร์บางส่วน ได้มีการนำ Deepseek มาใช้โจมตี หลอกลวง และใช้เขียนสตอรี่ต่าง ๆ ได้ง่ายขึ้นเมื่อเทียบกับการโจมตีแบบเดิม ๆ การใช้ AI อย่างเช่น DeepSeek ทำให้จะช่วยลดต้นทุนด้านเวลาและทรัพยากรของผู้ไม่หวังดี

ตรวจพบ ‘ภัยคุกคามบนเว็บ’ ในไทยมากกว่า 28,000 รายการต่อวัน

Loading

    สถิติโดย “แคสเปอร์สกี้” เผยว่า ปี 2024 ประเทศไทยพบภัยคุกคามบนเว็บมากกว่า 28,000 รายการต่อวัน อาชญากรไซเบอร์เปลี่ยนแปลงกลวิธีโจมตีเป็นการโจมตีที่ซับซ้อนมากขึ้น ทั้งยังมุ่งเน้นไปที่เป้าหมายที่มีมูลค่าสูงอย่างเฉพาะเจาะจง     รายงานความปลอดภัยทางไซเบอร์ประจำปีล่าสุดสำหรับประเทศไทยปี 2024 โดย “แคสเปอร์สกี้” ระบุว่า ตรวจพบและบล็อกภัยคุกคามบนเว็บมากกว่า 10 ล้านรายการ โดยเฉลี่ยแล้วพบภัยคุกคามบนเว็บมากกว่า 28,000 รายการต่อวัน       แคสเปอร์สกี้ตรวจพบและบล็อกภัยคุกคามบนเว็บที่แตกต่างกันที่กำหนดเป้าหมายโจมตีผู้ใช้ในประเทศไทยจำนวน 10,267,403 รายการ   โดยเฉลี่ยแล้วพบภัยคุกคามจำนวน 28,130 รายการต่อวัน คิดเป็นจำนวนน้อยกว่าปี 2023 ถึง 20.55% ซึ่งแคสเปอร์สกี้ตรวจพบความพยายามโจมตีผู้ใช้ในประเทศไทยจำนวน 12,923,280 รายการ   สรุปโดยรวมแล้วผู้ใช้ในประเทศไทยจำนวน 24.40% ตกเป็นเป้าหมายของภัยคุกคามบนเว็บในปี 2024   แคสเปอร์สกี้พบด้วยว่าในช่วงสามปีที่ผ่านมานั้นตัวเลขภัยคุกคามบนเว็บของประเทศไทยมีแนวโน้มลดลงตั้งแต่ปี 2022 ซึ่งพบภัยคุกคามเว็บต่อผู้ใช้ชาวไทยจำนวน 17,295,702 รายการ    …