เตือนแบบใด รัฐบาลอินโดโดนล็อคไฟล์ สุดท้ายได้คีย์จากแฮ็กเกอร์
ศูนย์ข้อมูลแห่งชาติของอินโดนีเซียถูก Ransomware เล่นงาน จนไฟล์ข้อมูลสำคัญมากมายโดนล็อครหัส ทว่าภายหลังกลุ่มแฮ็กเกอร์ได้ส่งคีย์ถอดรหัสมาให้
ศูนย์ข้อมูลแห่งชาติของอินโดนีเซียถูก Ransomware เล่นงาน จนไฟล์ข้อมูลสำคัญมากมายโดนล็อครหัส ทว่าภายหลังกลุ่มแฮ็กเกอร์ได้ส่งคีย์ถอดรหัสมาให้
การรถไฟอินเดียที่ดูแลระบบรางทั่วประเทศเปิดประมูลจัดซื้อจัดจ้างการติดตั้งกล้องจดจำใบหน้าบริเวณทางเข้าและทางออกในตู้รถไฟทั้งหมด 44,000 ตู้
ผอ.รพ.ศรีสะเกษ สั่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบด่วน ปมฐานข้อมูลผู้ป่วยล่ม หลังสะพัดฝีมือคนในหวังขายโปรแกรม 3 ล้านบาท พบผิดจริงสั่งฟันไม่เลี้ยง วันที่ 2 ส.ค.2566 จากกรณีที่มีการโพสต์ในเพจ อยากดังเดี๋ยวจัดให้ รีเทริน์ part 6 ว่า “มีการลบข้อมูลผู้ป่วยจริงหรือไม่ ลบเพื่อเหตุอะไรขายโปรแกรมหรืออย่างไร ส่วนกลางและสื่อสังคมช่วยตรวจสอบข้อเท็จจริงด้วย โรงพยาบาลศรีสะเกษ เจ้าหน้าที่โรงพยาบาล (เป็นข้าราชการ) ได้ทำการลบข้อมูลผู้ป่วย ใน Database ทั้งระบบ ทำให้ระบบ HIS ล่มทั้งระบบ ไม่สามารถให้การรักษาผู้ป่วยได้ ผู้ป่วยที่เดินทางมารักษาที่โรงพยาบาลต้องเดินทางกลับ โดยที่ยังไม่ได้รับการรักษา เพื่อเป็นการตรวจสอบข้อเท็จจริงเรื่องนี้ ผู้สื่อข่าวจึงได้เดินทางไปที่โรงพยาบาลศรีสะเกษ อ.เมือง จ.ศรีสะเกษ พบว่า บริเวณด้านหน้าโรงพยาบาลมีญาติผู้ป่วยนำผู้ป่วยมาเข้ารับการรักษาพยาบาลจำนวนมาก และได้ติดต่อขอพบกับ นพ.ชลวิทย์ หลาวทอง ผอ.โรงพยาบาลศรีสะเกษ เพื่อขอทราบข้อเท็จจริงว่า เรื่องดังกล่าวเป็นอย่างไร ทราบว่า นพ.ชลวิทย์ เดินทางไปราชการที่กรุงเทพฯ ผู้สื่อข่าวจึงได้โทรศัพท์สอบถามไปยังแหล่งข่าวที่ให้ข้อมูลดังกล่าวนี้ จากการสอบถามแหล่งข่าวให้ข้อมูลว่า สาเหตุที่ตนให้ข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องนี้ เพราะตนรู้สึกว่าผู้ป่วยที่ต้องเดินทางจากต่างอำเภอเพื่อมารักษาในโรงพยาบาลศรีสะเกษ…
ดีอีเอส เร่งกำหนดคุณลักษณะของระบบฐานข้อมูลฯ และกรอบระยะเวลาดำเนินงาน เพื่อใช้ติดตามความคืบหน้าคดี ช่วยแก้ปัญหาข่าวปลอม การกระทำผิดทางสื่อสังคมออนไลน์ ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น นายภุชพงค์ โนดไธสง รองปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอีเอส) เปิดเผยว่า คณะทำงานจัดทำระบบฐานข้อมูลเพื่อควบคุมและติดตามคดีที่เกี่ยวข้องกับการเผยแพร่ข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จและการกระทำผิดทางสื่อสังคมออนไลน์ ได้มีแนวทางในการเร่งจัดทำระบบฐานข้อมูลรวมเกี่ยวกับเว็บไซต์ หรือสื่อโซเซียล ที่ทางกระทรวงฯ ได้รับแจ้งว่ามีการโพสต์ข้อความที่เป็นเท็จหรือเฟกนิวส์ และผิดกฎหมายต่างๆ อาทิ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยให้เจ้าหน้าที่ทำการคัดกรองเว็บไซต์ที่เข้าข่ายผิดกฎหมายให้สามารถนำเสนอต่อศาลเพื่อพิจารณามีคำสั่งปิดกั้น ซึ่งจะช่วยให้การแก้ไขปัญหาการเผยแพร่ข้อมูลเท็จ ทางสื่อสังคมออนไลน์ในประเด็นต่างๆให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น “คณะทำงานฯ ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งเจ้าหน้าที่ตำรวจ และอัยการ ฯลฯ เพื่อบูรณาการข้อมูลร่วมกันในการจัดทำ ฐานข้อมูลเกี่ยวกับเว็บไซต์และสื่อโซเชียลที่มีข้อมูลเท็จหรือโพสต์ผิดกฎหมายที่ได้รับแจ้ง เพื่อให้เจ้าหน้าที่ทำได้เร็วขึ้น จากที่ผ่านมาแยกส่วนกัน เช่น มีเว็บไซต์ที่กระทำผิดที่แจ้งเข้ามาแต่ละวันจำนวนเท่าใด มีการกลั่นกรองเข้าข่ายผิดกฎหมาย เพื่อขอคำสั่งศาล ปิดกั้นเท่าไร และศาลมีคำสั่งปิดกั้นแล้วเท่าไร เพื่อดำเนินการส่งให้ทางผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต หรือ ไอเอสพี ปิดกั้นแล้วกี่ยูอาร์แอล ฯลฯ ซึ่งจะทำให้กระบวนการทำงานสามารถนำเสนอต่อ ศาลเพื่อพิจารณา วินิจฉัยได้แบบวันต่อวัน ขณะเดียวกันระบบก็จะมีการแจ้งเตือน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น เจ้าหน้าที่ตำรวจก็สามารถเข้ามาดูข้อมูล ในส่วนที่ต้องดำเนินการตามกฎหมาย เพื่อนำไปทำงานต่อได้ทันที โดยไม่ต้องรอหนังสือแจ้งจากกระทรวงฯ อย่างไรก็ตามการจัดทำฐานข้อมูลฯเป็นการเริ่มดำเนินการในช่วงแรกเท่านั้นยังไม่ได้กำหนดกรอบเวลาที่แล้วเสร็จเมื่อใด…
ทีมวิจัยจาก vpnMentor พบฐานข้อมูล Elasticsearch ของระบบ eHAC ที่ใช้เก็บข้อมูลโควิดสำหรับผู้เดินทางเข้าออกจากอินโดนีเซีย เปิดสู่อินเทอร์เน็ตโดยไม่มีการป้องกัน รวมฐานข้อมูล 1.4 ล้านชุดกระทบคนประมาณ 1.3 ล้านคน ข้อมูลประกอบไปด้วยข้อมูลระบุตัวตน เช่น ชื่อ, หมายเลขประจำตัว, หมายเลขโทรศัพท์, เพศ, วันเกิด, ภาพหนังสือเดินทาง, ข้อมูลโรงแรมที่เข้าพัก, โรงพยาบาลที่ตรวจโควิด, ผลการตรวจ ทาง vpnMentor พบฐานข้อมูลนี้ตั้งแต่วันที่ 15 กรกฎาคมที่ผ่านมา และพยายามติดต่อกระทรวงสาธารณสุขอินโดนีเซียแต่ไม่สำเร็จ จึงแจ้งไปยัง Indonesian CERT และกูเกิลผู้ให้บริการคลาวด์ สุดท้ายทางกระทรวงสาธารณสุขอินโดนีเซียจึงปิดฐานข้อมูลนี้ในวันที่ 24 สิงหาคมที่ผ่านมา ที่มา – vpnMentor ——————————————————————————————————————————————– ที่มา : blognone โดย lew’s blog / วันที่ 31 ส.ค.2564 Link :…
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว
องค์การรักษาความปลอดภัยฝ่ายพลเรือน
We firmly believe that the internet should be available and accessible to anyone, and are committed to providing a website that is accessible to the widest possible audience, regardless of circumstance and ability.
To fulfill this, we aim to adhere as strictly as possible to the World Wide Web Consortium’s (W3C) Web Content Accessibility Guidelines 2.1 (WCAG 2.1) at the AA level. These guidelines explain how to make web content accessible to people with a wide array of disabilities. Complying with those guidelines helps us ensure that the website is accessible to all people: blind people, people with motor impairments, visual impairment, cognitive disabilities, and more.
This website utilizes various technologies that are meant to make it as accessible as possible at all times. We utilize an accessibility interface that allows persons with specific disabilities to adjust the website’s UI (user interface) and design it to their personal needs.
Additionally, the website utilizes an AI-based application that runs in the background and optimizes its accessibility level constantly. This application remediates the website’s HTML, adapts Its functionality and behavior for screen-readers used by the blind users, and for keyboard functions used by individuals with motor impairments.
If you’ve found a malfunction or have ideas for improvement, we’ll be happy to hear from you. You can reach out to the website’s operators by using the following email
Our website implements the ARIA attributes (Accessible Rich Internet Applications) technique, alongside various different behavioral changes, to ensure blind users visiting with screen-readers are able to read, comprehend, and enjoy the website’s functions. As soon as a user with a screen-reader enters your site, they immediately receive a prompt to enter the Screen-Reader Profile so they can browse and operate your site effectively. Here’s how our website covers some of the most important screen-reader requirements, alongside console screenshots of code examples:
Screen-reader optimization: we run a background process that learns the website’s components from top to bottom, to ensure ongoing compliance even when updating the website. In this process, we provide screen-readers with meaningful data using the ARIA set of attributes. For example, we provide accurate form labels; descriptions for actionable icons (social media icons, search icons, cart icons, etc.); validation guidance for form inputs; element roles such as buttons, menus, modal dialogues (popups), and others. Additionally, the background process scans all the website’s images and provides an accurate and meaningful image-object-recognition-based description as an ALT (alternate text) tag for images that are not described. It will also extract texts that are embedded within the image, using an OCR (optical character recognition) technology. To turn on screen-reader adjustments at any time, users need only to press the Alt+1 keyboard combination. Screen-reader users also get automatic announcements to turn the Screen-reader mode on as soon as they enter the website.
These adjustments are compatible with all popular screen readers, including JAWS and NVDA.
Keyboard navigation optimization: The background process also adjusts the website’s HTML, and adds various behaviors using JavaScript code to make the website operable by the keyboard. This includes the ability to navigate the website using the Tab and Shift+Tab keys, operate dropdowns with the arrow keys, close them with Esc, trigger buttons and links using the Enter key, navigate between radio and checkbox elements using the arrow keys, and fill them in with the Spacebar or Enter key.Additionally, keyboard users will find quick-navigation and content-skip menus, available at any time by clicking Alt+1, or as the first elements of the site while navigating with the keyboard. The background process also handles triggered popups by moving the keyboard focus towards them as soon as they appear, and not allow the focus drift outside it.
Users can also use shortcuts such as “M” (menus), “H” (headings), “F” (forms), “B” (buttons), and “G” (graphics) to jump to specific elements.
We aim to support the widest array of browsers and assistive technologies as possible, so our users can choose the best fitting tools for them, with as few limitations as possible. Therefore, we have worked very hard to be able to support all major systems that comprise over 95% of the user market share including Google Chrome, Mozilla Firefox, Apple Safari, Opera and Microsoft Edge, JAWS and NVDA (screen readers).
Despite our very best efforts to allow anybody to adjust the website to their needs. There may still be pages or sections that are not fully accessible, are in the process of becoming accessible, or are lacking an adequate technological solution to make them accessible. Still, we are continually improving our accessibility, adding, updating and improving its options and features, and developing and adopting new technologies. All this is meant to reach the optimal level of accessibility, following technological advancements. For any assistance, please reach out to