มอสซาด: ความเกรียงไกรและล้มเหลวของหน่วยงานสอดแนมระดับโลกของอิสราเอลมีอะไรบ้าง

Loading

นช่วงหลายวันของการโจมตีซ้ำแล้วซ้ำอีก อิสราเอลได้กำหนดเป้าหมายไปยังโรงงานนิวเคลียร์ ฐานทัพทหาร และที่พักอาศัยส่วนตัวในอิหร่าน ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ทางตะวันตกของประเทศและอยู่รอบ ๆ เมืองหลวงกรุงเตหะรานแม้การโจมตีมาจากท้องฟ้า แต่น่าสงสัยว่ามอสซาด (Mossad) หน่วยข่าวกรองของอิสราเอล มีบทบาทสำคัญในการระบุตำแหน่งเป้าหมายและกำกับปฏิบัติการภาคพื้นดินเช่นกัน

ส่อง Fattah-1 ขีปนาวุธไฮเปอร์โซนิคของอิหร่าน เอาชนะระบบป้องกันภายทางอากาศ Iron Dome

Loading

การวิเคราะห์ว่า เหตุใด ขีปนาวุธความเร็วเหนือเสียง Fattah-1 ที่อิหร่านผลิต จึงมีความโดดเด่นเมื่อถูกใช้งาน การป้องกันภัยจากการรุกรานของฝั่งตะวันตก ทำให้เกิดพัฒนาการที่รุดหน้าและเข้ามาเปลี่ยนแปลงคลังอาวุธของกองทัพอิหร่านให้มีความทันสมัยมากกว่าเดิม ถือเป็นความก้าวหน้าครั้งสำคัญในภูมิทัศน์ระบบป้องกันตัวเอง

สถานทูตแจ้ง “คนไทย” เร่งอพยพจากกรุงเตหะราน

Loading

สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงเตหะราน แจ้งคนไทยเร่งอพยพออกจากพื้นที่กรุงเตหะราน ไปยังศูนย์พักพิงชั่วคราวเมือง Amol หลังสถานการณ์ความรุนแรงเพิ่มขึ้น ล่าสุดยอดเสียชีวิตเหตุอิสราเอลโจมตีอิหร่าน เพิ่มเป็น 224 คน

เจาะลึก ’สหรัฐ’ ต้องมี Golden Dome ระบบปกป้องขีปนาวุธชั้นสูง

Loading

ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ประกาศแผนการสร้างระบบป้องกันขีปนาวุธที่เรียกว่า “โกลด์เดนโดม” (Golden Dome) เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคมที่ผ่านมา ก็เพื่อปกป้องสหรัฐจากขีปนาวุธพิสัยไกล ขีปนาวุธร่อน และขีปนาวุธความเร็วเหนือเสียง รวมถึงขีปนาวุธที่ยิงจากอวกาศ

‘อินเดีย-ปากีสถาน’ คู่ปรับแห่งชมพูทวีป ความบาดหมางที่ไม่เคยจาง

Loading

ย้อนกลับไปเมื่อเดือน ส.ค. 2490 ข้อตกลงแบ่งมณฑลบริติชอินเดีย ที่กำหนดขึ้นโดยสหราชอาณาจักรมีผลบังคับใช้ ถือเป็นการสิ้นสุดอย่างเป็นทางการ ของยุคจักรวรรดินิยมอังกฤษในชมพูทวีป โดยข้อตกลงแบ่งแยกพื้นที่ดังกล่าวออกเป็นรัฐอธิปไตยสองแห่ง คือปากีสถานที่ได้รับเอกราชในคืนวันที่ 14 ส.ค. ตามด้วยอินเดีย เมื่อวันที่ 15 ส.ค. ปีเดียวกัน

ระบบกฎหมายระหว่างประเทศ เกราะป้องกันสงคราม

Loading

    ระบบกฎหมายระหว่างประเทศ เกราะป้องกันสงคราม – สงครามโลกครั้งที่ 1 ได้คร่าชีวิตมนุษย์ไปกว่า 11 ล้านชีวิต และสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่เกิดขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 เพียง 20 ปี ได้สังหารชีวิตมนุษย์ไประหว่าง 45-65 ล้านคน แถมด้วยระเบิดนิวเคลียร์ขนาดเล็กอีก 2 ลูกที่ทิ้งลงที่ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งเป็นบทเรียนให้โลกเรียนรู้ว่าอะไรจะเกิดขึ้นเมื่อสันดานของประเทศมหาอำนาจแบบดั้งเดิมบวกกับอาวุธที่ทำลายล้างมวลมนุษย์อย่างสูงอย่างอาวุธนิวเคลียร์ซึ่งย่อมหมายความถึงความพินาศฉิบหายอย่างสุดที่จะจินตนาการได้     หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลงในปี ค.ศ.1945 โลกได้เรียนรู้บทเรียนราคาแพงว่าการขาดระบบกฎหมายระหว่างประเทศที่เข้มแข็งเป็นปัจจัยสำคัญที่นำไปสู่ความขัดแย้งที่คร่าชีวิตผู้คนนับสิบล้าน การก่อตั้งสหประชาชาติ (UN) และสนธิสัญญาสำคัญ เช่น กฎบัตรสหประชาชาติ (UN Charter) ได้วางรากฐานให้กับระบบกฎหมายระหว่างประเทศที่มีเป้าหมายป้องกันสงครามและส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศ   ถึงแม้ว่าระบบนี้จะไม่สมบูรณ์แบบ และหลายครั้งถูกละเมิดโดยมหาอำนาจ แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่ามันสามารถรักษาสันติภาพระหว่างมหาอำนาจมาได้กว่า 80 ปีแล้ว โดยเฉพาะการป้องกันสงครามโลกครั้งที่ 3 ซึ่งหากเกิดขึ้นก็อาจเป็นจุดจบของอารยธรรมมนุษย์   ความเปราะบางของกฎหมายระหว่างประเทศในทางปฏิบัติจะมีลักษณะที่เปราะบาง เพราะไม่มี “ตำรวจโลก” คอยบังคับใช้กฎหมายระหว่างประเทศโดยตรง การเคารพหรือไม่เคารพกฎหมายเหล่านี้ขึ้นอยู่กับเจตจำนงของรัฐและแรงกดดันจากประชาคมระหว่างประเทศ บ่อยครั้งที่มหาอำนาจเช่นสหรัฐอเมริกา…