‘สกมช.’ ลุยปั้นคนไซเบอร์ เตรียมพร้อมไทยรับมือยุคดิจิทัล

Loading

ภัยคุกคามทางไซเบอร์ ที่เพิ่มขึ้นแบบทวีคูณและส่งผลกระทบต่อทั้งการใช้ชีวิต องค์กรภาครัฐ และภาคธุรกิจ ผลักดันให้ผู้คนเกิดการตื่นตัว เป็นหนึ่งใน “วาระแห่งชาติ” ที่หลายภาคส่วนหันมาให้ความสำคัญ…เปิดแผน คณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ (สกมช.)

อีคอมเมิร์ซแอป เป้าหมายใหม่ การโจมตีทางไซเบอร์ (จบ)

Loading

ภัยคุกคามทางไซเบอร์สำหรับแอปพลิเคชันอีคอมเมิร์ซมีหลากหลายรูปแบบ อย่างเช่น ฟิชชิ่ง (Phishing) เป็นการโจมตีที่หลอกล่อให้เหยื่อคลิกลิงก์ไปยังเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชันที่เป็นอันตราย โดยการส่งอีเมลหรือข้อความที่ทำให้ดูเหมือนส่งจากแหล่งที่เชื่อถือได้

ปัญหาขององค์กรคืออะไร? เมื่อความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีมาพร้อมกับภัยคุกคามไซเบอร์ที่หลีกเลี่ยงไม่ได้

Loading

“สมัยนี้ธุรกิจจำเป็นต้องขับเคลื่อนด้วยข้อมูล เพื่อการวิเคราะห์ คาดการณ์ และบริหารงานต่าง ๆ ซึ่งก็เป็นแรงจูงใจให้องค์กรโยกย้ายข้อมูลต่าง ๆ เข้าสู่โลกออนไลน์ เพื่อให้สามารถใช้ข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ  แต่ในทางตรงกันข้ามก็เป็นตัวกระตุ้นชั้นดีให้กับมิจฉาชีพที่จ้องจะฉวยโอกาสจากช่องโหว่ เพื่อเข้าถึงข้อมูลสำคัญ ๆ

สกมช.เร่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องออกมาตรการดูแลผู้ได้รับผลกระทบถูกคุกคามจากภัยไซเบอร์

Loading

เมื่อวันที่ 10 กันยายน 2566 ระบุว่า สกมช. เร่งตรวจสอบกรณี ของ บริษัท แอดวานซ์ ไวร์เลส เน็ทเวอร์ค จำกัด และ บริษัท ไอซอฟเทล (ประเทศไทย) จำกัด ถูกคุกคามทางไซเบอร์ พบโดนละเมิดการเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศ จี้เพิ่มมาตรการป้องกัน และรับมือ พร้อมย้ำให้เร่งออกมาตรการดูแลบริษัทนิติบุคคลและลูกค้าที่ได้รับผลกระทบ

ยุค ‘SaaS Sprawl’ ถึงเวลาคิดทบทวน Cybersecurity ครั้งใหญ่

Loading

  การนำ Software-as-a-Service (SaaS) มาใช้งานในปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบในการดำเนินธุรกิจ ความสามารถในการขยายเครือข่าย และโซลูชันที่เอื้อต่อการปรับใช้ให้เหมาะกับความต้องการ ได้เข้ามาสร้างความเปลี่ยนแปลง   โดยทั้งหมดนี้ส่งผลให้เกิดปรากฏการณ์ที่เรียกว่า “SaaS Sprawl” คือการแพร่กระจายอย่างรวดเร็วของแอปพลิเคชัน (App) บนคลาวด์ภายในองค์กร   นอกจากนี้ยังได้สร้างความท้าทายด้านความปลอดภัยที่สำคัญหลายอย่าง รวมถึงการแชร์ข้อมูลที่มากเกินไป การรั่วไหลของข้อมูล การขาดมาตรฐาน การกำกับดูแลแบบรวมศูนย์ และความซับซ้อนที่เพิ่มขึ้นในการจัดการเพื่อเข้าถึงและการอนุญาตของผู้ใช้งาน   ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมาจำนวนแอปพลิเคชัน SaaS ได้เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องบวกกับความก้าวหน้าของ AI อย่าง ChatGPT ทำให้องค์กรต่าง ๆ หันมาใช้งานแอปพลิเคชันซอฟต์แวร์ อย่าง Microsoft 365, Google Workspace และ Salesforce กันมากขึ้น   ตั้งแต่ปี 2558 อุตสาหกรรม SaaS เติบโตจาก 31.4 พันล้านดอลลาร์เป็นประมาณ 167.1 พันล้านดอลลาร์ในปี 2565 ซึ่งเท่ากับการเติบโตมากกว่า 5 เท่าในเวลาเพียง…

แก๊งแรนซัมแวร์ ‘Cyclops’ ช่วยอาชญากรไซเบอร์โจรกรรมข้อมูล

Loading

  ปัญหาภัยคุกคามทางไซเบอร์ยังคงเป็นเรื่องที่น่าวิตกกังวลของทุกหน่วยงานและองค์กร ไม่ว่าจะทั้งในประเทศและต่างประเทศก็ตาม   ด้วยรูปแบบการโจมตีที่หลากหลายซึ่งได้รับการพัฒนาต่อไปเรื่อย ๆ ทำให้มีความซับซ้อนเพื่อหลีกเลี่ยงการตรวจจับ ในวันนี้ผมขอหยิบยกประเด็นเกี่ยวกับแรนซัมแวร์ที่กำลังเป็นที่สนใจในต่างประเทศอย่างแก๊งแรนซัมแวร์ Cyclops ที่ได้ออกประกาศนำเสนอมัลแวร์ที่สามารถขโมยและดักจับข้อมูลละเอียดอ่อนจากโฮสต์ที่ติดไวรัสแล้ว   และแน่นอนว่าตัวการที่อยู่เบื้องหลังการคุกคามคือ Ransomware-as-a-Service (RaaS) คือแพลตฟอร์มที่ให้บริการเช่ามัลแวร์เพื่อเรียกค่าไถ่กับเหยื่อ โดยจะมีการแบ่งผลกำไรเมื่อมีการดำเนินการแรนซัมเรียบร้อย   Cyclops ransomware มีความโดดเด่นในเรื่องการกำหนดเป้าหมายที่ระบบปฏิบัติการเดสก์ท๊อปหลักทั้งหมด รวมถึง Windows, macOS และ Linux นอกจากนี้ยังได้รับการออกแบบมาเพื่อหยุดกระบวนการที่อาจขัดขวางการเข้ารหัส   โดย Cyclops ransomware เวอร์ชัน macOS และ Linux เขียนด้วย Golang ซึ่งแรนซัมแวร์ใช้โครงร่างการเข้ารหัสที่มีความซับซ้อนและผสมผสานระหว่างการเข้ารหัสแบบอสมมาตรและสมมาตร (Asymmetric and Symmetric encryption) สำหรับการโจรกรรมแบบ Go-based ออกแบบมาเพื่อ Windows และ Linux จะดักจับข้อมูลในระบบปฏิบัติการ   อาทิ ชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ จำนวน process และไฟล์สำคัญต่าง ๆ…