เปลี่ยน ‘เหมืองร้าง’ เป็น ‘โซลาร์ฟาร์ม’ มุ่งสู่พลังงานสะอาด ช่วยฟื้นฟูที่ดิน

Loading

นักวิจัยจาก Global Energy Monitor (GEM) ระบุว่าเหมืองถ่านหิน 312 แห่งทั่วโลกปิดตัวลงตั้งแต่ปี 2020 และมีแนวโน้มว่าจะปิดตัวเพิ่มขึ้นอีก 134 แห่งภายในสิ้นทศวรรษนี้ โดยครอบคลุมพื้นที่รวมกัน 5,820 ตร.กม. โดยนักวิจัยแนะนำว่าสามารถเปลี่ยนเหมืองถ่านหินร้างเหล่านี้ให้เป็น “โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์” อาจมีพลังงานหมุนเวียนเพิ่มเกือบ 300 กิกะวัตต์ ภายในปี 2030 

บทเรียนจากไฟดับครั้งใหญ่ใน ‘ไอบีเรีย’ สร้างระบบพลังงานที่ยืดหยุ่นได้อย่างไร?

Loading

นี่ไม่ใช่ไฟฟ้าดับครั้งแรกในยุโรปในปีนี้ ในเดือนมีนาคม สนามบินลอนดอนฮีทโธรว์ปิดตัวลงหลังจากเกิดเพลิงไหม้ที่สถานีย่อยเพียงแห่งเดียวที่จัดหาพลังงานให้กับศูนย์กลางการขนส่งที่พลุกพล่านที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ยกเลิกเที่ยวบินและทําให้บ้านหลายพันหลังไม่มีไฟฟ้า สาเหตุของเพลิงไหม้ยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด แต่ค่าใช้จ่ายโดยรวมของอุตสาหกรรมการบินอยู่ที่ประมาณ 60 ล้านปอนด์ (78 ล้านดอลลาร์)

พบอุปกรณ์ต้องสงสัยในอินเวอร์เตอร์ที่ผลิตจากจีน หวั่นถูกใช้ปิดระบบไฟฟ้าระยะไกล

Loading

ผู้เชี่ยวชาญด้านความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ได้ตรวจพบภัยคุกคามร้ายแรงต่อโครงสร้างพื้นฐานด้านพลังงานระดับโลก เมื่อมีการค้นพบอุปกรณ์ที่ไม่ปรากฏในเอกสารจำเพาะ หรือ “คิลสวิตช์” (kill switches) ซึ่งรวมถึงโมเด็มเซลลูลาร์ที่ถูกซ่อนไว้ในอินเวอร์เตอร์ไฟฟ้าที่ผลิตจากประเทศจีน อุปกรณ์เหล่านี้ถูกใช้งานอย่างแพร่หลายทั่วโลก รวมถึงในสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร

สาระ9ข้อร่างพ.ร.บ.โซลาร์เซลล์เปิดรับฟังความคิดเห็นถึง30 พ.ค.

Loading

เกี่ยวกับ “ร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมการใช้ไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ พ.ศ. ….” ซึ่งมีเป้าหมายเพื่อ ส่งเสริมให้ประชาชนสามารถติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ใช้เองได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และปลอดภัยโดยลดขั้นตอนการดำเนินงานตามกฎหมายที่บังคับใช้ในปัจจุบัน

ทั่วโลกใช้ ‘พลังงานสะอาด’ ทะลุ 40% ‘โซลาร์เซลล์’ เติบโตมากสุด

Loading

รายงานฉบับใหม่จากกลุ่มสถาบันวิจัยด้านพลังงาน Ember ระบุว่าในปี 2024 การผลิตไฟฟ้าของโลกมากกว่า 40% มาจาก “พลังงานหมุนเวียน” แต่การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ตัวการที่ทำให้ “โลกร้อน” กลับเพิ่มสูงขึ้นเป็นประวัติการณ์ เนื่องจากปีที่ผ่านมาอุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้น ยิ่งทำให้ความต้องการพลังงานโดยรวมมากขึ้น ส่งผลให้ต้องใช้ “เชื้อเพลิงฟอสซิล” เพิ่มมากขึ้น

3 แนวทางในการเชื่อมช่องว่างด้าน ‘พลังงานในเอเชีย’

Loading

เอเชียยืนอยู่ที่ทางแยกสําคัญในการเดินทางด้านพลังงาน ต่อสู้กับแรงกดดันสองเท่าของการพัฒนาเศรษฐกิจและการลดคาร์บอน ในภูมิภาคที่พึ่งพาถ่านหินอย่างหนักในการผลิตพลังงาน จะสร้างสมดุลระหว่างการตอบสนองความต้องการพลังงานในทันทีและการรักษาความยั่งยืนในระยะยาวได้อย่างไร