ดาวเทียม นภา 2 ดวงตาจากนอกโลกของกองทัพไทย

Loading

ในยุคที่ข้อมูลข่าวสารคืออำนาจ การเข้าถึงข้อมูลเชิงลึกได้อย่างรวดเร็วและแม่นยำถือเป็นหัวใจสำคัญของความมั่นคงของชาติ “ดวงตาจากอวกาศ” หรือดาวเทียมสอดแนมจึงไม่ใช่เรื่องไกลตัวอีกต่อไปสำหรับประเทศไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังจากการขึ้นสู่วงโคจรของ ดาวเทียม นภา 2 (NAPA-2) ดาวเทียมเพื่อความมั่นคงที่ปฏิบัติการจริงดวงแรกของกองทัพอากาศไทย บทความนี้จะพาทุกท่านไปเจาะลึกถึงศักยภาพ ภารกิจ และความสำคัญของดาวเทียมดวงนี้ ที่เปรียบเสมือนผู้พิทักษ์น่านฟ้าไทยจากนอกโลก

National Guard คือใคร ? ทำไมทรัมป์ส่งลงคุมม็อบ LA.

Loading

วันนี้ (11 มิ.ย.2568) การประท้วงต่อต้านนโยบายกวาดล้างผู้อพยพของสหรัฐฯ ในลอสแอนเจลิสเข้าสู่วันที่ 4 เมื่อวันที่ 10 มิ.ย.2568 ท่ามกลางความตึงเครียดที่เพิ่มขึ้น เมื่อ ปธน.โดนัลด์ ทรัมป์ สั่งเนชันแนลการ์ด 4,000 นาย และนาวิกโยธิน 700 นายลงพื้นที่ โดยไม่ได้รับอนุญาตจากผู้ว่าการรัฐแคลิฟอร์เนีย แกวิน นิวซัม

‘ความมั่นคงปลอดภัย’ เงื่อนไขการอยู่รอด ‘องค์กรยุคดิจิทัล’

Loading

AI: ดาบสองคมในโลกยุคไซเบอร์ ปัจจุบัน ปัญญาประดิษฐ์ (AI) กลายเป็นหัวใจสำคัญของทั้งฝ่ายป้องกันและฝ่ายโจมตีในโลก ไซเบอร์ ฝ่ายป้องกันเริ่มใช้ AI ตรวจจับความผิดปกติ วิเคราะห์พฤติกรรม และตอบสนองภัยคุกคามได้แบบเรียลไทม์ ขณะที่แฮกเกอร์ก็ใช้ AI พัฒนา “มัลแวร์อัจฉริยะ” ที่เรียนรู้และปรับตัวได้เอง

สหราชอาณาจักรเปิดตัว ‘New Cyber Warfare Command’

Loading

เมื่อไม่นานมานี้กระทรวงกลาโหมของสหราชอาณาจักรได้ออกมาประกาศจัดตั้งหน่วยบัญชาการทางไซเบอร์และแม่เหล็กไฟฟ้า (Cyber and Electromagnetic Command) ขึ้นพร้อมทั้งลงทุนส่งเสริมศักยภาพทางด้านการสงครามดิจิทัลของกองทัพมูลค่ากว่า 1 พันล้านปอนด์

เกิดอะไรขึ้นในสหรัฐฯ เมื่อประธานาธิบดีทรัมป์ สั่งกองกำลังพิทักษ์มาตุภูมิออกปราบผู้ประท้วงในลอสแอนเจลิส

Loading

ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ แห่งสหรัฐอเมริกา เปิดเผยว่า เขาได้ส่งกองกำลังพิทักษ์มาตุภูมิ (National Guard) จำนวน 2,000 นายไปยังนครลอสแอนเจลิส เพื่อรักษา “กฎหมายและระเบียบอันเข็มแข็ง” หลังจากเกิดการประท้วงต่อต้านการบุกจับผู้อพยพในเมืองใหญ่ที่สุดอันดับของสหรัฐฯ แห่งนี้

‘Thai Centrality’ ทางรอดยุทธศาสตร์ของไทยในโลกที่ไม่รอใคร

Loading

ท่ามกลางกระแสการแข่งขันที่รุนแรงจากเพื่อนบ้าน ทั้งเวียดนาม มาเลเซีย และแม้แต่ สปป. ลาว ต่างขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ความเชื่อมโยงอย่างเข้มข้น ประเทศไทยกำลังเผชิญจุดเปลี่ยนสำคัญทางภูมิรัฐศาสตร์ ที่ต้องเลือกว่าจะเป็นเพียงทางผ่าน หรือจะเป็น “ศูนย์กลางที่กำหนดทิศทางของภูมิภาค” ซึ่งในสถานการณ์เช่นนี้ “Thai Centrality” จึงไม่ใช่เพียงคำโฆษณาชวนเชื่อ หากแต่เป็นหนทางรอดที่ประเทศไทยต้องเร่งหาให้เจอ