ส่อง Fattah-1 ขีปนาวุธไฮเปอร์โซนิคของอิหร่าน เอาชนะระบบป้องกันภายทางอากาศ Iron Dome

Loading

การวิเคราะห์ว่า เหตุใด ขีปนาวุธความเร็วเหนือเสียง Fattah-1 ที่อิหร่านผลิต จึงมีความโดดเด่นเมื่อถูกใช้งาน การป้องกันภัยจากการรุกรานของฝั่งตะวันตก ทำให้เกิดพัฒนาการที่รุดหน้าและเข้ามาเปลี่ยนแปลงคลังอาวุธของกองทัพอิหร่านให้มีความทันสมัยมากกว่าเดิม ถือเป็นความก้าวหน้าครั้งสำคัญในภูมิทัศน์ระบบป้องกันตัวเอง

จาก “โดรนสอดแนม” ของกลุ่มป่วนใต้ สู่โดรนติดอุปกรณ์ทิ้งระเบิด

Loading

การพบโดรนต้องสงสัย 2 ลำ บรรจุในกล่องขนาดใหญ่ พร้อมอุปกรณ์ดัดแปลงติดตั้งให้กลายเป็น “โดรนทิ้งระเบิด” ซึ่งถูกฝังดินไว้บริเวณใกล้ชายแดนไทย-มาเลเซีย พื้นที่บ้านไร่ออก หมู่ 2 ต.สำนักขาม อ.สะเดา จ.สงขลา เมื่อค่ำของวันที่ 12 มิ.ย.ที่ผ่านมา

“ศาลโลก” คือใคร ? ชี้ขาดได้แค่ไหน ทำไมถึงกลายเป็นความหวังของกัมพูชา !

Loading

จากกรณีข้อพิพาทระหว่างประเทศไทยและกัมพูชาได้จุดประเด็นเรื่องการครอบครองดินแดนอีกครั้ง โดยล่าสุดกัมพูชาได้ยื่นฟ้องต่อศาลโลกในปมพิพาทชายแดน 4 จุดสำคัญ เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2568 ที่ผ่านมา ซึ่งถือเป็นวันครบรอบของการตัดสินคดีปราสาทพระวิหาร ปี พ.ศ. 2505 ที่ในครั้งนั้นประเทศไทยได้แพ้คดีต่อกัมพูชา โดยมาจากคำตัดสินของศาลโลก และนำมาซึ่งผลของการที่ไทยต้องเสียปราสาทพระวิหารให้กับทางกัมพูชา

อินโด-แปซิฟิกกับงบกลาโหม ความจำเป็นหรือใต้แรงกดดัน?

Loading

เมื่อไม่นานมานี้ นายพีต เฮกเซธ รมว.กลาโหมสหรัฐ กล่าวถ้อยแถลงอย่างฮึกเหิม ระหว่างการประชุมด้านความมั่นคงระดับภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก “แชงกรี-ลา ไดอะล็อก” ที่สิงคโปร์ โดยเรียกร้องให้นานาประเทศในภูมิภาคแห่งนี้เพิ่มงบประมาณด้านการป้องกันประเทศ

เปิดท่าที ‘ผู้นำโลก’ ต่อความขัดแย้ง อิสราเอล – อิหร่าน

Loading

บรรดาผู้นำโลกและเจ้าหน้าที่ระดับสูง เรียกร้องให้อิสราเอลและอิหร่าน ยุติสงคราม ขณะที่ศัตรูคู่อาฆาตนี้ ยังคงเปิดฉากโจมตีอย่างหนักหน่วงเป็นวันที่สองนายกรัฐมนตรีเบนจามิน เนทันยาฮู กล่าวอ้างเมื่อวันเสาร์ (14 มิ.ย.) ว่า เพราะการโจมตีของอิสราเอลต่อโครงสร้างพื้นฐานของอิหร่าน มีผลให้โครงการนิวเคลียร์ล่าช้าไปหลายปี พร้อมกันนี้ได้ปฏิเสธข้อเรียกร้องจากทั่วโลกที่ขอให้ใช้ความยับยั้งช่างใจ

อัปเดทวงการแพทย์ ‘ใช้ AI ช่วยหมอ’ พัฒนาก็ท้าทาย??

Loading

    อัปเดทวงการแพทย์ ‘ใช้ AI ช่วยหมอ’ พัฒนาก็ท้าทาย??   “ใช้ AI” ทำให้ “รักษาโรคสะดวกยิ่งขึ้น” ก็ย่อม “มีผลดีต่อการรักษาชีวิตผู้ป่วย”     เกี่ยวกับความคืบหน้าการนำ “AI” มาประยุกต์ใช้ในทางการแพทย์ในไทย ที่ “ทีมสกู๊ปเดลินิวส์” จะสะท้อนต่อข้อมูล กับกรณีนี้ได้มีการเปิดเผยผลการดำเนินงานผ่านเวทีการประชุมวิชาการของ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ประจำปี 2568 ภายใต้แนวคิด “นวัตกรรมเพื่อระบบสุขภาพไทยที่เข้มแข็ง” ที่ฉายภาพความก้าวหน้าของเทคโนโลยี…ของ AI ที่เข้ามาพลิกโฉมการแพทย์ไทย ซึ่งหนึ่งในนั้นก็มีผลงานความสำเร็จ “ใช้ AI รักษาผู้ป่วยโรคตา” จากผลงานการพัฒนาของนักวิจัยไทย ทาง ศ.คลินิก นพ.ไพศาล ร่วมวิบูลย์สุข จักษุแพทย์เชี่ยวชาญ โรงพยาบาลราชวิถี ในฐานะนักวิจัยที่มีส่วนร่วมในการพัฒนา AI เพื่อใช้ในการรักษา เผยไว้ว่า… ปัจจุบันมีการ “ใช้ AI คัดกรองโรคเบาหวานเข้าจอตา”ซึ่งภาวะเบาหวานเข้าจอตาเป็นสาเหตุการตาบอดอันดับแรกของโลก แต่ปัญหาที่เจอในไทยคือ…ที่ผ่านมาการคัดกรองโรคนี้ยังทำได้ไม่ครอบคลุม เนื่องจากจำนวนจักษุแพทย์ในไทยมีอยู่จำกัด นี่จึงทำให้ทีมวิจัยพัฒนาระบบ AI…