ขู่วางระเบิด ป่วนสนามบิน 42 แห่งในฟิลิปปินส์

Loading

เมื่อวันศุกร์ที่ 6 ตุลาคม 2566 กล่าวว่า สำนักงานการบินพลเรือนของฟิลิปปินส์ได้รับคำขู่วางระเบิดทางอีเมล จนต้องประกาศมาตรการฉุกเฉินขั้นสูงในทุกสนามบิน สำนักงานฯ กล่าวว่า พวกเขากำลังสืบสวนภัยคุกคามที่ได้รับทางอีเมลเมื่อวันพุธ ที่มีข้อความว่าเครื่องบินที่สนามบินมะนิลาและเครื่องบินอีก 4 ลำจะ “ระเบิด”

นิวซีแลนด์สั่งปิดสนามบินควีนส์ทาวน์ หลังพบวัตถุต้องสงสัยคล้ายระเบิด

Loading

ท่าอากาศยานควีนส์ทาวน์ในเมืองควีนส์ทาวน์ของประเทศนิวซีแลนด์ต้องปิดให้บริการเป็นเวลานานหลายชั่วโมงในวันนี้ (6 ต.ค.) เพื่อให้เจ้าหน้าที่ตรวจสอบวัตถุต้องสงสัยคล้ายระเบิดที่พบภายในสนามบิน แต่ขณะนี้การตรวจสอบสนามบินเสร็จสิ้นแล้ว และเตรียมกลับมาเปิดให้บริการอีกครั้ง

พม่าสั่งจำคุก “บิ๊กตำรวจนายพล” 4 ปี ฐานปล่อยข้อมูลต่อต้านก่อการร้ายรั่วไหล

Loading

วันที่ 2 ตุลาคม 2566 ที่ผ่านมา สำนักงานตำรวจแห่งชาติพม่า ได้สั่งลงโทษจำคุก พล.ต.อ่องเธมิ่น ผู้บัญชาการกองคดีอาชญากรรมข้ามชาติ เป็นเวลา 4 ปี เนื่องจากได้กระทำผิดวินัยร้ายแรงฐานปล่อยให้ความลับของบุคคลรั่วไหล โดยขณะนี้ พล.ต.อ่องเธมิ่นได้ถูกส่งตัวไปคุมขังไว้ที่เรือนจำยะมีติน ในกรุงมัณฑะเลย์ เรียบร้อยแล้ว

หัวหน้าพรรคคอมมิวนิสต์ไต้หวันถูกฟ้องข้อหาแทรกซึมฝักใฝ่จีน

Loading

เอเอฟพีรายงาน เมื่อวันพุธที่ 4 ตุลาคม 2566 กล่าวว่า อัยการไต้หวันสั่งฟ้องหลิน เท-วัง ประธานพรรคคอมมิวนิสต์ประชาชนไต้หวัน ในข้อหาละเมิดกฎหมายต่อต้านการแทรกซึม คำฟ้องดังกล่าวมีขึ้นในขณะที่ไต้หวันกำลังเข้าสู่การเลือกตั้งประธานาธิบดีและสมาชิกรัฐสภาในเดือนมกราคม ท่ามกลางความสัมพันธ์ที่ย่ำแย่ลงกับจีนแผ่นดินใหญ่ ซึ่งอ้างว่าเกาะที่ปกครองตนเองแห่งนี้เป็นดินแดนของตน

รู้หรือไม่! คำว่า ‘คลิกเบต’ ที่เจอในโลกออนไลน์ทุกวันแปลว่า “พาดหัวยั่วให้คลิก”

Loading

Clickbait’ อาจเป็นสิ่งที่คนทุกคนรวมถึงผู้เขียนนั้น ต้องพบเจออยู่เป็นประจำ ไม่ว่าจะเป็นชื่อโพสต์ลิงก์ขายของออนไลน์ หรือโพสต์พาดหัวข่าว และนอกจากนี้ทางสำนักงานราชบัณฑิตยสภาได้ระบุคำทับศัพท์ของ ‘Clickbait’ คือ ‘คลิกเบต’ โดยมีความหมายว่า “พาดหัวยั่วให้คลิก”

Grayware คืออะไร ? อาจไม่อันตราย ไม่ใช่มัลแวร์ แต่โดนแล้วว้าวุ่นนะจ๊ะ

Loading

คำว่า Grayware (หรือ Greyware) อาจเป็นคำที่ไม่คุ้นหูชาวไทยเรากันมากนัก นิยามของตัวมันเองอาจไม่ใช่มัลแวร์ (Malware) โดยตรง โดยคำว่า Grayware จะใช้เมื่อเราเอ่ยถึงกลุ่มซอฟต์แวร์ที่อยู่ระหว่างความเป็นมัลแวร์ กับซอฟต์แวร์ที่ถูกต้องตามกฏหมาย คือพฤติกรรมของมันอาจไม่ได้อันตรายถึงขึ้นที่จะเป็นมัลแวร์ แต่มันก็สามารถสร้างความรำคาญ หรือทำอะไรบางอย่างที่ผู้ใช้งานไม่ต้องการ