อินเดียกับกองทัพอาระกัน

Loading

เมื่อต้นเดือนมีนาคม Lairam Times สื่อท้องถิ่นในรัฐมิโซรัม (Mizoram) ของอินเดีย เปิดเผยข้อมูลและภาพการหารือระหว่าง เค. วันลาลเวนา (K. Vanlalvena) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของอินเดีย กับตัวแทนจากกองทัพอาระกัน หรือ AA หนึ่งในสมาชิกกลุ่มพันธมิตรสามภราดรภาพ

การบังคับเกณฑ์ทหารกับวิกฤตระดับอาเซียน

Loading

สัญญาณบอกเหตุว่ากองทัพพม่ากำลังอ่อนแอลงอย่างสุดขีด และความพยายามรักษาอำนาจหลังรัฐประหารปี 2021 มาถึงทางตันแล้ว คือการประกาศแผนการบังคับเกณฑ์ทหารทั้งชายและหญิงที่ยังอยู่ในวัยทำงาน อายุตั้งแต่ 18-35 ปี สำหรับผู้ชาย และ 18-27 ปี สำหรับผู้หญิง การประกาศในลักษณะนี้ไม่ได้เพิ่งเกิดขึ้นครั้งแรก เพราะรัฐบาลทหารในยุคก่อนหน้านี้เคยออกกฎหมายบังคับเกณฑ์ทหารในช่วงบ้านเมืองเจอศึกสงครามและทหารขาดแคลน แต่การต่อสู้ของ SAC หรือคณะรัฐประหารพม่าในครั้งนี้ไม่ใช่ “สงคราม” เพื่อปกป้อง “ชาติ” หากแต่เป็นการปกป้องผลประโยชน์ของตนเองมากกว่าอื่นใด

ศาลทหารเมียนมาตัดสิน 3 นายพล รับโทษประหาร ฐานยอมจำนนที่เล้าก์ก่าย

Loading

สำนักข่าวต่างประเทศรายงานจากเมืองย่างกุ้ง ประเทศเมียนมา เมื่อวันที่ 19 ก.พ. โดยอ้างข้อมูลจากแหล่งข่าวในกองทัพเมียนมา ว่าศาลทหารพิพากษาให้ทหารยศพลจัตวา 3 นาย หนึ่งในนั้นคือผู้บัญชาการกองกำลังเมืองเล้าก์ก่าย ในรัฐฉาน ทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ ให้รับโทษประหารชีวิต ส่วนทหารยศพลจัตวาอีกสามนาย รับโทษจำคุกตลอดชีวิต

อินเดียร้องพลเมืองออกจากรัฐยะไข่ทันทีเหตุความปลอดภัยย่ำแย่

Loading

กต.อินเดีย ระบุ “พลเมืองอินเดียที่อยู่ในรัฐยะไข่ควรออกจากรัฐทันที” และยังแนะนำประชาชนไม่ให้เดินทางไปยังรัฐยะไข่เนื่องจากสถานการณ์ด้านความปลอดภัยย่ำแย่ การบริการด้านโทรคมนาคมหยุดชะงัก และการขาดแคลนสินค้าโภคภัณฑ์จำเป็นต่าง ๆ อย่างรุนแรง

เมียนมาสั่งประหารชีวิต 3 นายพล เหตุยอมจำนนกลุ่มต่อต้าน

Loading

ก่อนหน้านี้มีรายงานว่า รัฐบาลทหารเมียนมาสั่งปลดนายพล 6 นาย ที่ยอมจำนนต่อกองทัพพันธมิตรประชาธิปไตยแห่งชาติเมียนมา (MNDAA) หรือกลุ่มโกก้าง ทำให้เสียเมืองเล่าก์ก่าย ทางตอนเหนือของรัฐฉาน วันที่ 24 ม.ค. มีแหล่งข่าวใกล้ชิดรัฐบาลทหารเมียนมาเปิดเผยว่า รัฐบาลได้ตัดสินประหารชีวิตนายพล 3 นายแล้ว

สถานการณ์ ‘เมียนมา’ วิเคราะห์สมรภูมิสู้รบดุเดือด

Loading

นับเนื่องมาตั้งปลายเดือน ต.ค.2566 จนถึงปัจจุบัน สถานการณ์การสู้รบระหว่างกองทัพเมียนมา กับกองกำลังกลุ่มชาติพันธุ์ และกองกำลังพิทักษ์ประชาชน เกิดขึ้นในหลายภูมิภาค ทั้งรัฐฉานตอนเหนือ รัฐกะยา รัฐชิน รัฐยะไข่ และภูมิภาคสะกาย