“ดีอี” สั่งใช้ MFA ทุกหน่วยงานรัฐ หลังพบ “ข้อมูลรั่ว” นับล้านรายการ

Loading

นายประเสริฐ จันทรรวงทอง รองนายกรัฐมนตรี และรมว.ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เปิดเผยภายหลังการเป็นประธานการประชุมคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ (กมช.) ว่า ได้สั่งการให้สํานักงานคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ (สกมช.) เสนอเรื่องเข้าสู่คณะรัฐมนตรี  (ครม.) เพื่อให้มีมติกำหนดให้ทุกหน่วยงานของรัฐบังคับใช้การยืนยันตัวตนแบบหลายปัจจัย (Multi-Factor Authentication: MFA) ทุกระบบงาน เพื่อป้องกันการเข้าถึงโดยผู้ไม่หวังดี และลดความเสี่ยงจากการถูกเจาะระบบ

สหรัฐเตือนระวังก่อการร้าย กรณีไทยส่งตัวชาวอุยกูร์กลุ่มใหญ่กลับจีน

Loading

สถานเอกอัครราชทูตสหรัฐประจำประเทศไทย ขอแนะนำให้พลเมืองสหรัฐ เพิ่มความระมัดระวังและตื่นตัวเป็นพิเศษ โดยเฉพาะในสถานที่ที่มีนักท่องเที่ยวหนาแน่น เนื่องจากอาจมีความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้น การทบทวนแผนด้านความปลอดภัยส่วนบุคคล และปฏิบัติตามคำแนะนำของหน่วยงานท้องถิ่นอย่างเคร่งครัด

สื่อพม่า ‘บิดเบือน-ปลุกระดม’ ปม จนท.ไทยทำร้ายชาวเมียนมาในแม่สอด ความจริง!! นี่คือคนของกลุ่มต่อต้านฯ แฝงตัวใช้ไทยเป็นฐานก่อการร้าย

Loading

เมื่อวานนี้มีคลิปออกมาจากสำนักข่าว Khit Thit โดยในคลิปข่าวมีภาพเจ้าหน้าที่คนไทยทำร้ายชาวเมียนมาในแม่สอด วันนี้ เอย่า จึงจะมาเล่าเรื่องที่เกิดขึ้นจริงให้ได้ทราบกัน

รู้จัก “KNU” ในบริบทความมั่นคงไทยยุคภัยคอมมิวนิสต์

Loading

รู้จัก “KNU” หรือ “กองกำลังสหภาพแห่งชาติกะเหรี่ยง” ในบริบทความมั่นคงไทยยุคภัยคอมมิวนิสต์ หลังบุกยึดเมืองเมียวดี ชายแดนสำคัญของเมียนมาที่อยู่ติดไทย

ผลการพูดคุย สันติภาพปาตานี/สันติสุขชายแดนใต้ ล่าสุด ปัญหาและทางออก

Loading

หลังจากมีการแจ้งผลการพูดคุยสันติภาพปาตานี/สันติสุขชายแดนใต้เต็มคณะ ครั้งที่ 7 ระหว่างวันที่ 6-7 กุมภาพันธ์ 2567 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ปรากฏว่ามีการออกมาคัดค้านเสียงดังผ่านสื่อส่วนกลางในเอกสารร่างสุดท้ายตามแผนที่สื่อมวลชนเรียกสั้นๆ ว่า JCPP หรือชื่อทางวิชาการคือ แผนปฏิบัติการร่วมเพื่อสันติภาพ/สันติสุขแบบองค์รวม (Joint Comprehensive Plan Towards Peace – JCPP)

พื้นที่ทับซ้อนทางทะเลไทย-กัมพูชาอยู่ตรงไหน

Loading

  ฮุน มาเนต นายกรัฐมนตรีกัมพูชา เยือนไทยอย่างเป็นทางการในวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2024 โดยวาระสำคัญคือการหารือกับ เศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เกี่ยวกับประเด็นพื้นที่ทับซ้อนทางทะเลระหว่างไทยและกัมพูชาที่เป็นปัญหาคาราคาซังมากว่า 50 ปี   ปมปัญหาจากข้อพิพาทนี้เริ่มขึ้นหลังจากที่กัมพูชาประกาศเขตไหล่ทวีปในอ่าวไทยเมื่อปี 2515 ก่อนที่ไทยจะประกาศในปี 2516 ซึ่งต่างฝ่ายต่างอ้างสิทธิ์ขีดเส้นล้ำเข้ามาทับเส้นของอีกฝ่าย ทำให้เกิดเป็นพื้นที่ทับซ้อนกันกว่า 26,000 ตารางกิโลเมตร เมื่อมีข้อพิพาทเกิดขึ้น จึงส่งผลต่อสิทธิสัมปทานที่ทั้งไทยกับกัมพูชาได้ให้กับบริษัทเอกชนด้านสำรวจและผลิตปิโตรเลียม จึงทำให้ยังไม่มีใครสามารถเข้าไปดำเนินกิจกรรมสำรวจและผลิตปิโตรเลียมได้   เนื้อที่ทางทะเลที่มีข้อพิพาทนี้มีการประเมินกันว่า มีปริมาณก๊าซธรรมชาติสำรองขนาดใหญ่ไม่แพ้แหล่งในอ่าวไทย หากเจรจาสำเร็จ ไทยจะสามารถจัดหาแหล่งก๊าซธรรมชาติที่มีราคาถูก หรือสามารถนำมาช่วยทดแทนปริมาณก๊าซในอ่าวไทยได้ในอนาคตอีกด้วย     ภาพประกอบ: นิสากร ฤทธาภัย บทความโดย  ปัทมาสน์ ชนะรัชชรักษ์       ——————————————————————————————————————————————————————————— ที่มา :               …