อิหร่าน’สั่งปิดเน็ตทั้งประเทศ ป้องกันแฮ็กเกอร์จาก’อิสราเอล’

Loading

19 มิถุนายน 2568 สำนักข่าวต่างประเทศรายงานว่า ‘เน็ตบล็อกส์’ (NetBlocks) องค์กรเอ็นจีโอซึ่งคอยสังเกตการณ์การทำงานของอินเทอร์เน็ตในประเทศต่างๆ ระบุว่า บริการอินเทอร์เน็ตในอิหร่านถูกตัดขาดเกือบสมบูรณ์แล้ว โดยข้อมูลอินเทอร์เน็ตตามเวลาจริงแสดงให้เห็นว่า ตอนนี้อิหร่านกำลังเผชิญภาวะอินเทอร์เน็ตไม่สามารถให้บริการได้เกือบทั่วประเทศ 

Anubis Ransomware เข้ารหัสและลบข้อมูล ทำให้ไม่สามารถกู้คืนได้ แม้มีการจ่ายเงินค่าไถ่

Loading

บริษัท Trend Micro เผยรายงานการค้นพบแรนซัมแวร์ตัวใหม่ชื่อว่า “Anubis” ซึ่งมาพร้อมความสามารถพิเศษที่น่ากังวลคือการเข้ารหัสไฟล์พร้อมฟังก์ชัน “wipe mode” ที่สามารถลบเนื้อหาของไฟล์ออกได้ถาวร ทำให้ไม่สามารถกู้คืนข้อมูลได้แม้จะชำระค่าไถ่แล้ว ซึ่งจัดเป็นภัยคุกคามแบบ “สองชั้น” ที่พบได้น้อย โดยกลุ่มผู้อยู่เบื้องหลังดำเนินรูปแบบ Ransomware-as-a-Service (RaaS)

ทำความรู้​จักกับกลุ่ม NDTSEC2.0

Loading

(16 มิ.ย. 68) ปราชญ์ สามสี โพสต์ผ่านเฟสบุ๊กว่า.. “สงครามไซเบอร์ไทย–เขมร” ปะทุเงียบ! รู้จัก NDTSEC 2.0: แฮกเกอร์กัมพูชาที่จ้องถล่มโครงสร้างไทยจากหลังคีย์บอร์ดไม่ต้องใช้รถถัง ไม่ต้องปะทะหน้าด่าน แต่ใช้บอท–ไวรัส–ดาร์กเว็บเป็นอาวุธ “NDTSEC 2.0” คือชื่อที่กำลังถูกจับตาในวงการความมั่นคงไซเบอร์ของไทย

WestJet สายการบินใหญ่อันดับสองของแคนาดา เผชิญเหตุการณ์โจมตีทางไซเบอร์

Loading

WestJet สายการบินใหญ่อันดับสองของแคนาดา เผชิญกับเหตุการณ์โจมตีทางไซเบอร์ที่ส่งผลกระทบต่อการเข้าถึงระบบภายในและแอปพลิเคชันของบริษัท โดยเหตุการณ์ดังกล่าวทำให้ผู้ใช้งานบางรายไม่สามารถเข้าถึงระบบได้ตามปกติ โดยอย่างไรก็ตามทางบริษัทระบุว่าไม่มีผลกระทบต่อความปลอดภัยในการบิน

DNS แนวป้องกันด่านแรกที่องค์กรห้ามมองข้าม

Loading

ลองจินตนาการดูว่าคุณเปิดคอมพิวเตอร์ขึ้นมาทำงานในเช้าวันจันทร์ ทุกอย่างดูปกติดี คุณเปิดเว็บบริษัท แต่กลับเจอหน้าตาแปลกๆ หรือบางทีเข้าไม่ได้เลย ไม่มีใครรู้ว่าเกิดอะไรขึ้น จนกระทั่งทีมไอทีตรวจพบว่า DNS ของบริษัทโดนโจมตีเรื่องนี้อาจฟังดูไกลตัว แต่จริงๆ แล้วมันเกิดขึ้นบ่อย และที่น่ากลัวคือ “DNS” ซึ่งเป็นแค่ระบบเล็กๆ เบื้องหลังการใช้งานอินเทอร์เน็ต กำลังกลายเป็นเป้าหมายสำคัญของอาชญากรไซเบอร์มากขึ้นเรื่อยๆ

สหราชอาณาจักรเปิดตัว ‘New Cyber Warfare Command’

Loading

เมื่อไม่นานมานี้กระทรวงกลาโหมของสหราชอาณาจักรได้ออกมาประกาศจัดตั้งหน่วยบัญชาการทางไซเบอร์และแม่เหล็กไฟฟ้า (Cyber and Electromagnetic Command) ขึ้นพร้อมทั้งลงทุนส่งเสริมศักยภาพทางด้านการสงครามดิจิทัลของกองทัพมูลค่ากว่า 1 พันล้านปอนด์