ส่อง Fattah-1 ขีปนาวุธไฮเปอร์โซนิคของอิหร่าน เอาชนะระบบป้องกันภายทางอากาศ Iron Dome

Loading

การวิเคราะห์ว่า เหตุใด ขีปนาวุธความเร็วเหนือเสียง Fattah-1 ที่อิหร่านผลิต จึงมีความโดดเด่นเมื่อถูกใช้งาน การป้องกันภัยจากการรุกรานของฝั่งตะวันตก ทำให้เกิดพัฒนาการที่รุดหน้าและเข้ามาเปลี่ยนแปลงคลังอาวุธของกองทัพอิหร่านให้มีความทันสมัยมากกว่าเดิม ถือเป็นความก้าวหน้าครั้งสำคัญในภูมิทัศน์ระบบป้องกันตัวเอง

สังคมโลก : โกลเดน โดม

Loading

ทรัมป์ต้องการระบบที่สามารถป้องกันอาวุธของศัตรูหลากหลายประเภท ตั้งแต่ขีปนาวุธข้ามทวีป (ไอซีบีเอ็ม) ขีปนาวุธความเร็วเหนือเสียง หรือขีปนาวุธไฮเปอร์โซนิก ขีปนาวุธร่อน ไปจนถึงโดรน และเขาต้องการให้ระบบนี้พร้อมใช้งานภายในเวลาประมาณ 3 ปี หรือก่อนที่เขาใกล้ครบวาระ การดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐสมัยที่สอง

เจาะลึก ’สหรัฐ’ ต้องมี Golden Dome ระบบปกป้องขีปนาวุธชั้นสูง

Loading

ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ประกาศแผนการสร้างระบบป้องกันขีปนาวุธที่เรียกว่า “โกลด์เดนโดม” (Golden Dome) เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคมที่ผ่านมา ก็เพื่อปกป้องสหรัฐจากขีปนาวุธพิสัยไกล ขีปนาวุธร่อน และขีปนาวุธความเร็วเหนือเสียง รวมถึงขีปนาวุธที่ยิงจากอวกาศ

1 ปี สงครามกาซา (ตอนที่ 1): สงครามที่ไม่จบของอิสราเอล

Loading

    “We are at war.” คำประกาศของ เบนจามิน เนทันยาฮู นายกรัฐมนตรีของอิสราเอล เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2023   เช้าวันเสาร์ที่ 7 ตุลาคม 2023 เวลา 06.30 น. โดยประมาณ เกิดเหตุโจมตีอิสราเอลโดยกลุ่มฮามาส (Hamas) อย่างไม่คาดคิด   กลุ่มฮามาสเรียกปฏิบัติการนี้ว่า ‘The Operation Al-Aqsa Flood’ ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินของชาวอิสราเอลอย่างมาก โดยฮามาสเปิดปฏิบัติการด้วยการยิงจรวดประมาณ 5,000 นัดอย่างต่อเนื่อง เป็นระยะเวลาราว 20 นาที และตามมาด้วยการส่งกำลังพลของฮามาสประมาณ 3,000 คน ข้ามพรมแดนเข้ามา เพื่อเปิดการโจมตีขนาดใหญ่ต่อพื้นที่ตอนในของอิสราเอลอย่างที่ไม่เคยเกิดมาก่อน   สิ่งที่เกิดขึ้นในวันนั้นต้องถือเป็น ‘ปฏิบัติการเขย่าขวัญ’ สำหรับชาวยิวเป็นจำนวนมาก หรือโดยเปรียบเทียบแล้ว การโจมตีครั้งนี้เป็นเสมือนกับ ‘9/11 ของอิสราเอล’ เช่นที่สหรัฐอเมริกาเคยต้องประสบกับการโจมตีอย่างที่คาดไม่ถึงมาแล้วในวันที่ 11 กันยายน…

คิบบุตซ์คืออะไรและบ้านคนอิสราเอลต้องมีห้องหลบระเบิดทุกหลังจริงหรือ?

Loading

ในระยะนี้ หากติดตามข่าวสารเกี่ยวกับสงครามและความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลและปาเลสไตน์กลุ่มหัวรุนแรง อาจจะพอคุ้นกับคำว่า “คิบบุตซ์” (Kibbutz) ซึ่งเป็นสถานที่ในเขตอิสราเอล ที่โดนกลุ่มฮามาสโจมตีหลายแห่ง คิบบุตซ์ ในภาษาฮีบรู หมายถึง การรวมตัวกันเป็นกลุ่มก้อน เป็นลักษณะเฉพาะของชุมชนชาวยิวที่มีพื้นฐานมาจากชุมชนเกษตรกร

อิสราเอล ฮามาส ยุทธศาสตร์และราคาที่ต้องจ่าย

Loading

อิสราเอลและกลุ่มติดอาวุธชาวปาเลสไตน์ วิเคราะห์ยุทธศาสตร์และราคาที่ทั้งสองฝ่ายต้องจ่ายให้กับความขัดแย้ง เกือบสองทศวรรษ… หลังรัฐบาลอิสราเอลภายใต้การนำของ “นายกรัฐมนตรียิตส์ฮัก ราบิน” และ “นายยัสเซอร์ อาราฟัต” ผู้นำกลุ่มปลดปล่อยปาเลสไตน์ หรือ PLO ได้จับมือกันลงนามใน “ข้อตกลงออสโล” (OSLO ACCORDS) เมื่อปี 1993