พาไปรู้จัก “Digital ID” หลังขึ้นอันดับ 2 คำค้นหามากที่สุดในปี 67
หลังจากที่ Google Trends เปิดอันดับคนไทยค้นหาอะไรมากที่สุดในปี 2567 โดยคำว่า “Digital ID” คว้าอันดับ 2 คำที่คนไทยค้นหาเยอะที่สุดไปครอง “Digital ID” คืออะไร? วันนี้จะพาไปรู้จักกัน
หลังจากที่ Google Trends เปิดอันดับคนไทยค้นหาอะไรมากที่สุดในปี 2567 โดยคำว่า “Digital ID” คว้าอันดับ 2 คำที่คนไทยค้นหาเยอะที่สุดไปครอง “Digital ID” คืออะไร? วันนี้จะพาไปรู้จักกัน
การสแกนใบหน้าเพื่อทำธุรกรรมออนไลน์กลายเป็นเรื่องปกติในชีวิตประจำวัน โดยบริการที่ใช้มากเป็น อันดับต้นๆ หนีไม่พ้นบริการทางการเงินผ่าน Mobile Banking แต่ความล้ำเหล่านี้ก็เป็นดาบหลายคม เพราะได้กลายเป็นช่องว่างให้มิจฉาชีพเข้ามาฉวยโอกาสหลอกเหยื่อตามที่เป็นข่าว สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือ ETDA ในฐานะหน่วยงานที่ส่งเสริมผลักดันให้คนไทยเข้าใจมีการใช้งาน ตลอดจนตระหนักในการใช้กระบวนการพิสูจน์และยืนยันตัวตนทางดิจิทัลผ่านกิจกรรมต่างๆ ทางออนไลน์ หรือที่เรียกสั้นๆ ว่า “Digital ID” เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นในการทำธุรกรรมทางออนไลน์มากยิ่งขึ้น ปลุกคนไทยมั่นใจใช้ตัวตนดิจิทัล’ พร้อมไขข้อข้องใจว่าการใช้ Digital ID เชื่อถือได้แค่ไหน ทำความรู้จัก Digital ID หากบัตรประจำตัวประชาชน คือ เอกสารที่ใช้แสดงตนและยืนยันตัวตนในการติดต่อหรือทำธุรกรรมต่างๆ ในโลกออฟไลน์ Digital Identity หรือเรียกสั้นๆ ว่า ดิจิทัล ไอดี (Digital ID) ก็เปรียบได้กับบัตรประชาชนในโลกออนไลน์ ที่ช่วยบอกว่า “เราเป็นใคร” เพื่อเปิดทางให้เราสามารถทำธุรกรรมออนไลน์หรือเข้าถึงการบริการต่างๆ จากทั้งภาครัฐและภาคเอกชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ปลอดภัย เชื่อถือได้ ทำได้ทุกที่ทุกเวลา โดย…
ลู เกอร์สท์เนอร์ (Lou Gerstner) อดีต CEO IBM เขียนหนังสือ ชื่อ “ใครว่าช้างเต้นระบำไม่ได้” (Who Says Elephants Can’t Dance?) เล่าประสบการณ์การพลิกโฉมไอบีเอ็มจากบริษัทขายคอมพิวเตอร์ที่ใกล้ล้มละลาย มาเป็นบริษัทให้บริการและที่ปรึกษาไอที ที่เฟื่องฟูได้สำเร็จในยุค 90
สิ่งที่น่าชื่นชมในระบบการลงทะเบียนคือ มีระบบพิสูจน์ตัวบุคคลโดยใช้แอป ThaID (ไทยดี) ของกรมการปกครอง แอปนี้พัฒนาขึ้นเพื่อใช้ในการพิสูจน์และยืนยันตัวตน (Digital ID) รวมถึงการเปรียบเทียบภาพใบหน้า (Face Verification System) ทางดิจิทัล เมื่อสัปดาห์ก่อนผมลงทะเบียนเพื่อใช้สิทธิ์เลือกตั้งนายกสมาคมศิษย์เก่าของมหาวิทยาลัยขอนแก่น ซึ่งก็คิดว่าเหมือนระบบลงทะเบียนออนไลน์อื่น ๆ ที่มักจะให้ยืนยันตัวตนโดยเพียงการกรอกอีเมลหรือหมายเลขโทรศัพท์เท่านั้น ซึ่งผมเคยตั้งข้อสงสัยว่าระบบลงทะเบียนแบบนั้นจะพิสูจน์ตัวตนได้อย่างไรว่า “บุคคลที่มาลงทะเบียนบนโลกดิจิทัลกับตัวตนบนโลกจริงคือบุคคลคนเดียวกัน” เพราะใครก็สามารถใช้ชื่อของคนอื่นมาลงทะเบียนแทนได้ เช่น การสร้างอีเมลขึ้นมา และอ้างว่าเป็นบุคคลผู้นั้น แต่สิ่งที่น่าชื่นชมในระบบการลงทะเบียนคือ มีระบบพิสูจน์ตัวบุคคลโดยใช้แอป ThaID (ไทยดี) ของกรมการปกครอง แอปนี้พัฒนาขึ้นเพื่อใช้ในการพิสูจน์และยืนยันตัวตน (Digital ID) รวมถึงการเปรียบเทียบภาพใบหน้า (Face Verification System) ทางดิจิทัล หากระบบออนไลน์ใดของภาครัฐหรือภาคเอกชนมีการพัฒนาใช้แอป ThaID ในการยืนยันตัวตน ก็จะทำให้ผู้ใช้งานสามารถเข้าสู่ระบบผ่านแอป ThaID ได้เลย โดยไม่ต้องกรอกข้อมูลให้เสียเวลา ถือเป็นการสร้างมิติใหม่ของการทำธุรกรรมออนไลน์ ที่มีความสะดวก รวดเร็ว และปลอดภัยมากยิ่งขึ้น กรณีของมหาวิทยาลัยขอนแก่น คนที่ต้องการลงทะเบียนใช้สิทธิ์เลือกตั้งนายกสมาคมศิษย์เก่า จะต้องทำการดาวน์โหลดแอป…
ในวันที่อัลกอริทึม Generative AI ถูกพัฒนาสู่การเป็น AI Deepfake ที่ฉลาดล้ำและถูกนำมา สร้างเนื้อหา “ภาพ+เสียง” ที่เสมือนเรื่องจริงจนแยกไม่ออก ว่านี่คือชุดข้อมูล ที่ “มนุษย์ หรือ เทคโนโลยี AI” เป็นผู้คนสร้างสรรค์ ประเด็นดังกล่าว กลายเป็นประเด็นร้อนที่เราต่างเป็นห่วงและให้ความสำคัญ เพราะเราแทบไม่สามารถล่วงรู้ได้เลยว่า ภาพ VDO หรือแม้แต่เสียง ที่เราแชร์ ส่งต่อกันบนโลกออนไลน์ ภายในเสี้ยววินาทีนี้ คือ ความจริง หรือ ภาพลวง แล้วเราจะรับมือและรู้ทัน AI Deepfake ได้อย่างไร? ศูนย์ธรรมาภิบาลปัญญาประดิษฐ์ (AI Governance Clinic หรือ AIGC) เปิดเวทีแลกเปลี่ยนมุมมอง ทำความรู้จักกับ AI Deepfake พร้อมวิธีการรับมือเบื้องต้นเพื่อให้เรารู้ทันเทคโนโลยี AI ที่วันนี้สามารถสร้างชุดข้อมูล ภาพ เสียง ได้ราวกับมนุษย์แล้ว ใน AI…
กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย พร้อมนำแอปพลิเคชัน ThaID (ไทยดี) ยกระดับการให้บริการประชาชนภายใต้รัฐบาลดิจิทัล ด้วยระบบการพิสูจน์และยืนยันตัวตนผ่านทางแอป ThaID ลดภาระค่าใช้จ่ายประชาชน ลดการใช้ทรัพยากรสิ้นเปลือง ลดความเสี่ยงปลอมแปลงเอกสาร สามารถใช้แทนบัตรประชาชนได้ในการรับบริการต่าง ๆ จากภาครัฐ ปลื้มหลังจากเปิดตัวไตรมาสแรกปี 66 มียอดดาวน์โหลดกว่า 5.8 ล้านครั้ง ปัจจุบันพร้อมใช้ยืนยันตัวตนกับภาครัฐได้ถึง 11 ระบบ เผยขณะนี้มีหน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่ขออนุญาตใช้งานการยืนยันตัวตนถึงกว่า 70 หน่วยงาน พร้อมสร้างความเชื่อมั่นด้วยมาตรฐานความปลอดภัยระดับสากล ชวนคนไทยดาวน์โหลดและใช้งานได้ฟรี ทั้งระบบ Android และ iOS นายแมนรัตน์ รัตนสุคนธ์ อธิบดีกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย กล่าวว่า กรมการปกครอง พร้อมยกระดับคุณภาพชีวิตของคนไทย ตามแผนพัฒนาภาครัฐสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย โดยได้ดำเนินการจัดทำและพัฒนาแอปพลิเคชัน ThaID เพื่อเป็นระบบการพิสูจน์และยืนยันตัวตนทางดิจิทัล รองรับการใช้งานของประชาชนทั้งประเทศ ติดต่อกับราชการโดยไม่ต้องเดินทางไปที่สำนักงาน ลดค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ลดการใช้ทรัพยากรกระดาษที่สิ้นเปลือง ลดความเสี่ยงในการใช้เอกสารราชการปลอมในกระบวนการยืนยันตัวตนของระบบเดิม สร้างมิติใหม่ของการทำธุรกรรมภาครัฐและภาคเอกชน ที่มีความสะดวก รวดเร็ว ปลอดภัย สามารถบริการพี่น้องประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ…
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว
องค์การรักษาความปลอดภัยฝ่ายพลเรือน
We firmly believe that the internet should be available and accessible to anyone, and are committed to providing a website that is accessible to the widest possible audience, regardless of circumstance and ability.
To fulfill this, we aim to adhere as strictly as possible to the World Wide Web Consortium’s (W3C) Web Content Accessibility Guidelines 2.1 (WCAG 2.1) at the AA level. These guidelines explain how to make web content accessible to people with a wide array of disabilities. Complying with those guidelines helps us ensure that the website is accessible to all people: blind people, people with motor impairments, visual impairment, cognitive disabilities, and more.
This website utilizes various technologies that are meant to make it as accessible as possible at all times. We utilize an accessibility interface that allows persons with specific disabilities to adjust the website’s UI (user interface) and design it to their personal needs.
Additionally, the website utilizes an AI-based application that runs in the background and optimizes its accessibility level constantly. This application remediates the website’s HTML, adapts Its functionality and behavior for screen-readers used by the blind users, and for keyboard functions used by individuals with motor impairments.
If you’ve found a malfunction or have ideas for improvement, we’ll be happy to hear from you. You can reach out to the website’s operators by using the following email
Our website implements the ARIA attributes (Accessible Rich Internet Applications) technique, alongside various different behavioral changes, to ensure blind users visiting with screen-readers are able to read, comprehend, and enjoy the website’s functions. As soon as a user with a screen-reader enters your site, they immediately receive a prompt to enter the Screen-Reader Profile so they can browse and operate your site effectively. Here’s how our website covers some of the most important screen-reader requirements, alongside console screenshots of code examples:
Screen-reader optimization: we run a background process that learns the website’s components from top to bottom, to ensure ongoing compliance even when updating the website. In this process, we provide screen-readers with meaningful data using the ARIA set of attributes. For example, we provide accurate form labels; descriptions for actionable icons (social media icons, search icons, cart icons, etc.); validation guidance for form inputs; element roles such as buttons, menus, modal dialogues (popups), and others. Additionally, the background process scans all the website’s images and provides an accurate and meaningful image-object-recognition-based description as an ALT (alternate text) tag for images that are not described. It will also extract texts that are embedded within the image, using an OCR (optical character recognition) technology. To turn on screen-reader adjustments at any time, users need only to press the Alt+1 keyboard combination. Screen-reader users also get automatic announcements to turn the Screen-reader mode on as soon as they enter the website.
These adjustments are compatible with all popular screen readers, including JAWS and NVDA.
Keyboard navigation optimization: The background process also adjusts the website’s HTML, and adds various behaviors using JavaScript code to make the website operable by the keyboard. This includes the ability to navigate the website using the Tab and Shift+Tab keys, operate dropdowns with the arrow keys, close them with Esc, trigger buttons and links using the Enter key, navigate between radio and checkbox elements using the arrow keys, and fill them in with the Spacebar or Enter key.Additionally, keyboard users will find quick-navigation and content-skip menus, available at any time by clicking Alt+1, or as the first elements of the site while navigating with the keyboard. The background process also handles triggered popups by moving the keyboard focus towards them as soon as they appear, and not allow the focus drift outside it.
Users can also use shortcuts such as “M” (menus), “H” (headings), “F” (forms), “B” (buttons), and “G” (graphics) to jump to specific elements.
We aim to support the widest array of browsers and assistive technologies as possible, so our users can choose the best fitting tools for them, with as few limitations as possible. Therefore, we have worked very hard to be able to support all major systems that comprise over 95% of the user market share including Google Chrome, Mozilla Firefox, Apple Safari, Opera and Microsoft Edge, JAWS and NVDA (screen readers).
Despite our very best efforts to allow anybody to adjust the website to their needs. There may still be pages or sections that are not fully accessible, are in the process of becoming accessible, or are lacking an adequate technological solution to make them accessible. Still, we are continually improving our accessibility, adding, updating and improving its options and features, and developing and adopting new technologies. All this is meant to reach the optimal level of accessibility, following technological advancements. For any assistance, please reach out to