DNS แนวป้องกันด่านแรกที่องค์กรห้ามมองข้าม

Loading

ลองจินตนาการดูว่าคุณเปิดคอมพิวเตอร์ขึ้นมาทำงานในเช้าวันจันทร์ ทุกอย่างดูปกติดี คุณเปิดเว็บบริษัท แต่กลับเจอหน้าตาแปลกๆ หรือบางทีเข้าไม่ได้เลย ไม่มีใครรู้ว่าเกิดอะไรขึ้น จนกระทั่งทีมไอทีตรวจพบว่า DNS ของบริษัทโดนโจมตีเรื่องนี้อาจฟังดูไกลตัว แต่จริงๆ แล้วมันเกิดขึ้นบ่อย และที่น่ากลัวคือ “DNS” ซึ่งเป็นแค่ระบบเล็กๆ เบื้องหลังการใช้งานอินเทอร์เน็ต กำลังกลายเป็นเป้าหมายสำคัญของอาชญากรไซเบอร์มากขึ้นเรื่อยๆ

‘ความมั่นคงปลอดภัย’ เงื่อนไขการอยู่รอด ‘องค์กรยุคดิจิทัล’

Loading

AI: ดาบสองคมในโลกยุคไซเบอร์ ปัจจุบัน ปัญญาประดิษฐ์ (AI) กลายเป็นหัวใจสำคัญของทั้งฝ่ายป้องกันและฝ่ายโจมตีในโลก ไซเบอร์ ฝ่ายป้องกันเริ่มใช้ AI ตรวจจับความผิดปกติ วิเคราะห์พฤติกรรม และตอบสนองภัยคุกคามได้แบบเรียลไทม์ ขณะที่แฮกเกอร์ก็ใช้ AI พัฒนา “มัลแวร์อัจฉริยะ” ที่เรียนรู้และปรับตัวได้เอง

Dynamic DNS เครื่องมือในมือของอาชญากรไซเบอร์ ที่ใช้เพื่อปกปิดกิจกรรมของพวกเขาและปลอมแปลงตัวตน

Loading

บริการ Dynamic DNS (DDNS) ซึ่งเดิมทีออกแบบมาเพื่ออำนวยความสะดวกช่วยให้ชื่อโดเมน สามารถเชื่อมโยงไปยัง IP Address ที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอได้โดยอัตโนมัตินั้น กำลังกลายเป็นเครื่องมือสำคัญที่กลุ่มอาชญากรไซเบอร์ เช่น Scattered Spider และกลุ่มฟิชชิ่งอื่น ๆ หันมาใช้ประโยชน์อย่างแพร่หลาย

เปิดวิชั่น WatchGuard ภัยคุกคามไซเบอร์ไทยยุคหลังแผ่นดินไหวยังไม่เปลี่ยน

Loading

หตุแผ่นดินไหวมีนาคม 2568 ยังไม่มีผลกับสถานการณ์ภัยคุกคามไซเบอร์ในประเทศไทย พบแรนซัมแวร์หรือมัลแวร์เรียกค่าไถ่ยังเป็นหนึ่งในปัญหาหลักของไทยโดยเฉพาะภาคการผลิต ชี้แม้ปริมาณการโจมตีด้วยแรนซัมแวร์จะลดลงในช่วง 2 ปีที่ผ่านมาแต่ผลกระทบยังคงสูง ล่าสุดผู้โจมตีมีการใช้ “แรนซัมแวร์แบบบริการ” ทำให้แม้แต่ผู้ที่ไม่มีทักษะก็สามารถเช่าบริการและโจมตีเป้าหมายได้ ส่งผลให้องค์กรขนาดเล็กตกเป็นเหยื่อมากขึ้น

สกมช. จับมือ ไมโครซอฟท์ เปิดหลักสูตรฝึกอบรม AI และความปลอดภัยไซเบอร์

Loading

วันที่ 5 มีนาคม 2568 สำนักงานคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ (สกมช.) และไมโครซอฟท์ ประเทศไทย ต่อยอดความร่วมมือเพื่อยกระดับศักยภาพของบุคลากรด้านดิจิทัลรุ่นใหม่สำหรับประเทศไทย ครอบคลุมความรู้พื้นฐานด้านการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี AI องค์ความรู้เรื่องความปลอดภัยทางไซเบอร์ และแนวทางการป้องกัน ผ่านการฝึกอบรมจากผู้เชี่ยวชาญของไมโครซอฟท์

เตือนคนใช้ Gmail 2,500 ล้านคน เสี่ยงเจอกลโกงร้ายแรง ล้วงข้อมูลการเงิน

Loading

ผู้ใช้ Gmail กว่า 2.5 พันล้านคนได้รับคำเตือนเกี่ยวกับ “กลโกงร้ายแรง” ที่อาจทำให้แฮกเกอร์สามารถขโมยข้อมูลทางการเงินและข้อมูลสำคัญได้สำหรับ “กลโกงร้ายแรง” หมายถึง กลโกงที่อันตรายมาก อาจทำให้เหยื่อเสียเงิน เสียข้อมูลส่วนตัว หรือได้รับผลกระทบรุนแรงทางด้านอื่น ๆ