“ดีอี” สั่งใช้ MFA ทุกหน่วยงานรัฐ หลังพบ “ข้อมูลรั่ว” นับล้านรายการ

Loading

นายประเสริฐ จันทรรวงทอง รองนายกรัฐมนตรี และรมว.ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เปิดเผยภายหลังการเป็นประธานการประชุมคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ (กมช.) ว่า ได้สั่งการให้สํานักงานคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ (สกมช.) เสนอเรื่องเข้าสู่คณะรัฐมนตรี  (ครม.) เพื่อให้มีมติกำหนดให้ทุกหน่วยงานของรัฐบังคับใช้การยืนยันตัวตนแบบหลายปัจจัย (Multi-Factor Authentication: MFA) ทุกระบบงาน เพื่อป้องกันการเข้าถึงโดยผู้ไม่หวังดี และลดความเสี่ยงจากการถูกเจาะระบบ

Whoscall เปิดสถิติปี 67 สายมิจฉาชีพทางโทรศัพท์-ข้อความ SMS หลอกลวงในไทยพุ่ง 168 ล้านครั้ง สูงสุดในรอบ 5 ปี

Loading

รายงานประจำปีครั้งนี้ยังได้เปิดเผยถึงปัญหาการรั่วไหลของข้อมูลส่วนบุคคลโดยตรวจสอบผ่านฟีเจอร์ “ID Security” ซึ่งถูกพัฒนาขึ้นเพื่อช่วยให้ผู้ใช้สามารถตรวจสอบความปลอดภัยของข้อมูล ส่วนบุคคลของตนเองได้ ในปีที่ผ่านมา ฟีเจอร์ ID Security กลายเป็นตัวช่วยสำคัญที่ช่วยเพิ่ม ความระมัดระวังความปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคล

ด่วน! เปิดเอกสารลับ ผลสอบ DSI โพย “ฮั้ว สว.” มีจริง จ่อรับคดีพิเศษ

Loading

21 กุมภาพันธ์ 2568 จากกรณีเมื่อวันที่ 10 ก.พ.ที่ผ่านมา กลุ่มตัวแทนผู้สมัคร สว. รวมตัวกันมากกว่า 40 คน ทั้งกลุ่ม ส.ว. สำรอง ผู้สมัคร สว. อื่นๆ ได้เข้ายื่นหนังสือต่ออธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ (DSI) ขอให้กรมสอบสวนคดีพิเศษเข้ามาร่วมสอบสวน “คดีการฮั้ว โกง และบล็อกโหวตในการเลือก สว.” เมื่อปี 2567 อย่างจริงจัง โดยขอให้รับดำเนินการเป็นคดีพิเศษ ตามข่าวที่เสนอไปก่อนหน้านี้

เอ็นที กล่อมหน่วยงานรัฐย้ายระบบขึ้น ‘คลาวด์’ สร้างจุดเปลี่ยนรัฐบาลดิจิทัล

Loading

เอ็นที ตอกย้ำบทบาทนำเทคโนโลยีหนุนภาครัฐเปลี่ยนผ่านสู่ยุคดิจิทัล ด้วยกาโอเพ่น ดาต้า ชี้บูรณาการข้อมูลบนคลาวด์เทรนด์ที่เลี่ยงไม่ได้ ชวนทุกหน่วยงานรัฐร่วมกันเดินหน้า Go Cloud First

รัฐบาลดิจิทัล (9) “เก็บ” ครั้งเดียวก็เกินพอ

Loading

  ทำไมต้องเอาสำเนาเอกสารราชการ ไปให้หน่วยงานรัฐที่เราไปติดต่อด้วย ทั้งๆ ที่เป็นเอกสารของราชการเอง แถมยังต้อง “ทำและรับรอง” สำเนาเท่ากับจำนวน “คำขอ” ที่เราจะยื่นอีก   หน่วยงานแห่งนั้นน่าจะยังไม่ได้ใช้ระบบไอที ทำให้แต่ละ “คำขอ” ต้องแนบเอกสารให้ครบจบในชุดเดียว จึงจะพิจารณาได้โดยไม่ต้องไปเปิดค้นเอกสารที่อื่นอีก ประชาชน“คนเดียว”มาติดต่อหลายเรื่องก็ต้องทำเป็น “หลายคำขอ”และสำเนาเอกสารแยกกัน   นี่เป็นการมองราชการเป็นศูนย์กลาง ถ้าหากมอง ประชาชนเป็นศูนย์กลาง (Citizen Centric) แล้ว ประชาชนหนึ่งคน จะยื่นกี่คำขอก็ต้องถือเป็นเรื่องเดียวกันถ้ายื่นพร้อมกัน   ส่วนการรับรองสำเนา น่าจะเกิดจากการที่หน่วยงานรัฐไม่สามารถตรวจสอบ “ความจริงแท้” ของเอกสารสำเนาได้ จึงต้องให้นำทั้งเอกสาร “ตัวจริง”มาแสดง พร้อมกับ “ลงนาม” รับรองสำเนาถูกต้อง ถือว่า ประชาชนเป็นผู้รับผิดชอบในเอกสารต่างๆ ที่ยื่นเข้ามา หากปลอมแปลงหรือเป็นเท็จ ก็มีฐานทางกฎหมายที่จะปฏิเสธการอนุญาตหรืออาจดำเนินคดีตามกฎหมายต่อไปได้   อย่างไรก็ตาม การตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารนั้น ที่จริงแล้ว เป็นหน้าที่ของเจ้าหน้าที่รัฐผู้รับเรื่อง พ.ร.บ. วิ อิเล็กทรอนิกส์ จึงให้เจ้าหน้าที่ต้องเป็นคนทำสำเนาและลงนามรับรองเอกสารเอง ไม่ใช่ประชาชนผู้ยื่นเรื่องอีกต่อไป   หลักการ “การจัดเก็บข้อมูลเพียงครั้งเดียว”…

รมว.ดีอี เผย รัฐมุ่งหน้าพัฒนา Cloud First Policy ป้องกันข้อมูลรั่ว คาด ปี 68 จะสมบูรณ์

Loading

รัฐบาล เดินหน้า พัฒนาระบบ Cloud First Policy เพื่อป้องกันข้อมูลส่วนบุคคลรั่วไหล คาด ปี 68 จะเสร็จสมบูรณ์ มั่นใจ เก็บข้อมูลปลอดภัยมากขึ้น