6 กลโกงยอดฮิตที่มิจฉาชีพใช้แอบอ้างหน่วยงานต่างๆ

Loading

มาดูกันว่ามิจฉาชีพมีวิธีไหนบ้าง ที่ใช้หลอกเราให้โอนเงิน หรือล้วงข้อมูลสำคัญของเราไป เช่น อ้างว่าเป็นธนาคาร DSI ตำรวจ การไฟฟ้า แบงก์ชาติ หรือกรมบัญชีกลาง

ตร.ไซเบอร์ เตือน ระวัง! “เพจปลอม” อ้างเป็นเจ้าหน้าที่ ช่วยเหลือทางคดี

Loading

4 พ.ค. 2568 ตำรวจไซเบอร์ เตือนภัยมิจฉาชีพสร้างเพจปลอมใช้ชื่อคล้ายหน่วยงานรัฐ เช่น “Suppression Center ช่วยเหลือ” พร้อมรูปเจ้าหน้าที่ โลโก้หน่วยงานจริง เพื่อให้ดูน่าเชื่อถือ และยิงโฆษณา (ads) เข้าหาเหยื่อโดยตรง เพื่อหลอกให้เหยื่อติดต่อกลับ และให้ข้อมูลส่วนตัวไป

ตำรวจไซเบอร์เตือน! มิจฉาชีพสร้าง “เพจที่พักปลอม” อ้างดีลสงกรานต์ราคาถูก หลอกโอนเงินแล้วเชิดหนี

Loading

เมื่อวันที่ 6 เม.ย.68 เพจ ตำรวจไซเบอร์ กองบัญชาการสืบสวนสอบสวนอาชญากรรมทางเทคโนโลยี (บช.สอท.) ออกประกาศเตือนภัยประชาชนให้ระวังกลุ่มมิจฉาชีพสร้าง เพจเฟซบุ๊กปลอมแอบอ้างเป็นที่พักชื่อดัง โดยอ้างว่าเป็น “ที่พักหลุดจอง” หรือ “ดีลพิเศษช่วงสงกรานต์” พร้อมเสนอราคาถูกผิดปกติ เพื่อหลอกให้เหยื่อโอนเงินมัดจำก่อนจะหายตัวไป ไม่สามารถติดต่อได้อีก

สแกนคิวอาร์โค้ดโอนเงิน ระวังโดนหลอกโอนเงินไปยังมิจฉาชีพ ตั้งสติก่อนสแกน

Loading

  สแกนคิวอาร์โค้ดโอนเงิน ระวังโดนหลอกโอนเงินไปยังมิจฉาชีพ จากที่เป็นข่าวดัง ทนายโดนแก๊งคอลเซนเตอร์หลอกให้โอนเงินไปกว่า 1.2 ล้านบาท โดยโอนเงินผ่านการสแกน QR พร้อมเพย์ ซึ่งคนร้าย หลอกว่าเป็น QR รับเงิน ผู้เสียหาย ดำเนินการตามขั้นตอน และเป็นผู้ใส่รหัส สแกนหน้า และโอนเงิน พร้อมยืนยันรายการด้วยตนเองเป็นจำนวน 2 รายการ ซึ่งกลายเป็นโอนให้มิจฉาชีพโดยตรง   รูปแบบที่พบได้บ่อยๆในการหลอกสแกน QR มีดังนี้ •  ส่งข้อความหลอกลวง : อ้างเป็นหน่วยงาน กองทุน บำนาญ แจ้งว่าท่านได้รับเงินช่วยเพิ่มเติม หรือมีค่าธรรมเนียมที่ต้องชำระ   •  อ้างตัวเป็นการไฟฟ้า การประปา : อ้างว่าช่วงนี้มีการลดหย่อนค่าบริการ สามารถชำระได้ที่ QR Code นี้ เพื่อหลอกให้เหยื่อสแกนแล้วโอนเงิน   •  ใช้ QR Code ปลอมแปะบนเอกสารสำคัญ : หลอกให้เหยื่อสแกนเพื่อโอนเงิน  …

รวมวิธีเช็กเบอร์มิจฉาชีพ 2567 เบอร์ไหนห้ามรับ เช็กง่าย ๆ ได้ที่นี่

Loading

เช็กมิจฉาชีพยังไง? ปัญหามิจฉาชีพติดต่อมายังเบอร์โทรศัพท์ของเรา เพื่อต้องการล้วงข้อมูลส่วนตัว หรือหลอกโอนเงินด้วยวิธีต่างๆ ยังคงเป็นสิ่งที่ทำให้หลายคนกังวลใจในการรับสายเบอร์แปลก ทว่าในปัจจุบันก็ยังพอมีช่องทางง่ายๆ ในการเช็กเบอร์มิจฉาชีพ 2567 ผ่านออนไลน์ที่ทุกคนสามารถทำตามได้ง่ายๆ ในเบื้องต้น เพื่อเป็นการช่วยคัดกรอง “เบอร์โทรที่ไม่ควรรับ” ซึ่งอาจมีแนวโน้มที่จะเป็นเบอร์ของเครือข่าย Call Center ของแก๊งมิจฉาชีพ บทความนี้ ไทยรัฐออนไลน์นำ 5 วิธีเช็กเบอร์มิจฉาชีพแบบง่ายๆ มาฝากกัน

5 คดีแก๊งคอลเซ็นเตอร์ประจำปี 66 อาชญากรรมไซเบอร์ดูดเงินคนไทยกว่า 4 หมื่นล้าน

Loading

  5 คดีแก๊งคอลเซ็นเตอร์ประจำปี 2566 อาชญากรรมไซเบอร์ที่ดูดเงินคนไทยกว่า 4 หมื่นล้านบาทต่อปี   ต้องยอมรับว่า ‘มิจฉาชีพ’ มีหลากหลายรูปแบบและสามารถเข้าถึงตัวเราได้ในหลายช่องทาง ยิ่งในยุคนี้ที่การสื่อสารเปิดกว้าง แทบจะทุกคนมีโทรศัพท์เป็นของตัวเอง ในส่วนของข้อดีโทรศัพท์ได้ช่วยทำให้การติดต่อระหว่างกันเป็นไปได้สะดวกง่ายขึ้น แต่ส่วนภัยร้ายที่แฝงมาก็อาจทำให้เกิดความสูญเสียจนถึงชีวิตได้เช่นกัน   ก่อนจะพูดถึง 5 คดีความเสียหายหายที่เกิดจาก ‘แก๊งคอลเซ็นเตอร์’ ทีมข่าว TNN Online ได้สรุปตัวเลขเหตุอาชญากรรมทางเทคโนโลยีมาให้พิจารณา ซึ่งในระยะเวลาเพียง 1 ปีเท่านั้น คนไทยต้องสูญเสียทรัพย์สินให้กับการหลอกลวงรูปแบบนี้ไม่ต่ำกว่า 4.5 หมื่นล้านบาท   อ้างอิงสถิติแจ้งความออนไลน์จากเว็บไซต์ www.thaipoliceonline.com ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2565 – 30 กันยายน 2566 มีจำนวน 365,547 เรื่อง   แบ่งเป็นคดีออนไลน์ จำนวน 336,896 เรื่อง รวมมูลค่าความเสียหาย 45,738,507,864 บาท ตำรวจติดตามอายัดบัญชีได้ 167,347 บัญชี…