สร้างเซ็นเซอร์เรืองแสงใช้ตรวจจับสารเคมีอมตะ

Loading

PFAS หรือ สารเคมีอมตะ เป็นสารประกอบฟลูออรีนที่ผลิตขึ้นมาใช้กันอย่างแพร่หลายในอุตสาหกรรมต่าง ๆ ตั้งแต่บรรจุภัณฑ์อาหารไปจนถึงการผลิตเซมิคอน ดักเตอร์และยางรถยนต์ สารพวกนี้ไม่ย่อยสลาย และสะสมในสิ่งแวดล้อม ก่อความกังวลเกี่ยวกับมลพิษที่เป็นพิษโดยเฉพาะในน้ำ

รักษาความปลอดภัยแน่นหนาเครื่องราชกกุธภัณฑ์

Loading

หลุยส์ มารี ฮูเรล นักวิจัยแห่ง LSE และ โครงการความมั่นคงทางไซเบอร์ แห่งสถาบันวิชาการรอยัล ยูไนเตด เซอร์วิส กล่าวถึงการแฮ็กหอสมุดแห่งชาติบริเทน ซึ่งเป็นหนึ่งในหอสมุดที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีหนังสือ นิตยสาร ต้นฉบับ หนังสือพิมพ์ แผนที่ โน๊ตเพลง สแตมป์ อุปกรณ์ดิจิทัล และ แผ่นบันทึกเสียง

หน่วยกำกับอังกฤษเตรียมบังคับให้บริษัทเทคโนโลยียอมให้คู่แข่งเข้าถึงข้อมูลของตัวเอง

Loading

สำนักงานการแข่งขันและตลาดมีแผนจะบังคับให้บริษัทเทคโนโลยีเจ้าใหญ่ยอมให้คู่แข่งเข้าถึงข้อมูล รวมถึงถูกจำกัดการโปรโมตสินค้าด้วย บริษัทที่ตกเป็นเป้ามาตรการใหม่ เช่น Meta, Alphabet (บริษัทแม่ Google) Amazon และ Apple ทั้งนี้ มาตรการใหม่จะอาศัยอำนาจจากร่างกฎหมายที่อยู่ระหว่างการพิจารณาของรัฐสภา

“การลักพาตัวไซเบอร์” สแกมรูปแบบใหม่ ที่นักศึกษาจีนในหลายประเทศกำลังตกเป็นเหยื่อ

Loading

GETTY IMAGES   สถานทูตจีนในกรุงวอชิงตัน ออกประกาศเตือนพลเมืองชาวจีนในสหรัฐฯ โดยเฉพาะนักศึกษา ว่าให้ระมัดระวัง “การลักพาตัวเสมือนจริง”   สถานทูตออกแถลงการณ์ดังกล่าวหลังจาก ไค จวง นักศึกษาชาวจีนวัย 17 ปี ที่ถูกรายงานว่าหายตัวไป ถูกพบอย่างปลอดภัยภายในแคมป์ชั่วคราวในเขตรกร้างห่างไกลผู้คนของรัฐยูทาห์ เมื่อวันที่ 31 ธ.ค. ที่ผ่านมา   พ่อแม่ของไคบอกกับเจ้าหน้าที่โรงเรียนว่า พวกเขาได้รับข้อความพร้อมภาพถ่ายที่ระบุว่า ลูกชายถูกลักพาตัวพร้อมกับคำเรียกร้องเงินค่าไถ่   จากข้อมูลของตำรวจ ระบุว่า ผู้ตกเป็นเหยื่อของการลักพาตัวทางไซเบอร์ มักถูกโน้มน้าวให้แยกตัวออกมาอยู่ลำพัง พร้อมกับถ่ายภาพให้ดูเหมือนว่ากำลังถูกจับ ถึงแม้ว่าผู้ก่อการลักพาตัวจะไม่ได้อยู่ตรงนั้นด้วยก็ตาม โดยเหยื่อจะถูกติดตามผ่านเฟซไทม์หรือสไกป์แทน   ทั้งเหยื่อและครอบครัวต่างถูกทำให้เชื่อว่าอีกฝ่ายจะได้รับอันตราย หากพวกเขาไม่ยอมทำตาม   ครอบครัวของไคถูกหลอกให้จ่ายเงินค่าไถ่ประมาณ 80,000 ดอลลาร์สหรัฐ หรือประมาณ 2.8 ล้านบาท เข้าบัญชีธนาคารแห่งหนึ่งในประเทศจีน จากข้อมูลของตำรวจท้องถิ่น   การลักพาตัวเสมือน (virtual kidnapping) คืออะไร   RIVERDALE POLICE DEPARTMENT ไค…

หน่วยงานความมั่นคงจีน แฉ ‘แผนสอดแนมสายลับอังกฤษ’ เผยดำเนินคดีอาญาเรียบร้อย

Loading

ทางการจีนเปิดเผยว่า หน่วยงานความมั่นคงระดับสูงของจีน พบว่า หน่วยสืบราชการลับอังกฤษ ใช้ชาวต่างชาติรายหนึ่งในการรวบรวมความลับ และข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับจีนให้กับอังกฤษ พร้อมฝึกวิธีสอดแนมระดับมืออาชีพ ด้านโฆษกกระทรวงการต่างประเทศ วอนอังกฤษหยุดแพร่ข้อมูลผิด ๆ และการใส่ร้ายที่เป็นอันตรายต่อจีน

ทำความรู้จัก “เสมิร์ฟ (SMuRF)” กองทัพหุ่นยนต์รื้อถอนโรงงานไฟฟ้านิวเคลียร์

Loading

  นักวิทยาศาสตร์จากสหราชอาณาจักร พัฒนาหุ่นยนต์สเมิร์ฟ (SMuRF) กองทัพหุ่นยนต์ที่แต่ละตัวมีคุณสมบัติที่แตกต่างกัน แต่สามารถทำงานร่วมกันได้ เพื่อปฏิบัติงานที่อาจเป็นอันตรายต่อมนุษย์   นักวิทยาศาสตร์กำลังเสนอให้ใช้หุ่นยนต์อัตโนมัติที่มีชื่อว่าระบบสเมิร์ฟ (SMuRFs หรือ Symbiotic Multi-Robot Fleet) เพื่อช่วยในการรื้อถอนโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในอนาคต   สเมิร์ฟพัฒนาโดยทีมวิศวกรจากมหาวิทยาลัยกลาสโกลว (สก็อตแลนด์) มหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ (อังกฤษ) ห้องปฏิบัติการหุ่นยนต์บริสตอล (สหราชอาณาจักร) และมหาวิทยาลัยเฮเรียต-วัตต์ (สก็อตแลนด์)   แดเนียล มิทเชล (Daniel Mitchell) หนึ่งในผู้ร่วมวิจัยกล่าวว่าสเมิร์ฟตัวต้นแบบแต่ละตัวจะมีคุณสมบัติและข้อจำกัดที่เป็นเอกลักษณ์ รวมไปถึงมีระบบปฏิบัติการณ์ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวด้วย บางตัวสามารถบินได้ บางตัววิ่ง บางตัวก็วิ่งเหยาะ ๆ แต่ทุกตัวสามารถทำงานร่วมกันได้เพื่อทำงานที่อาจเป็นอันตรายต่อมนุษย์   ระบบที่ทำให้หุ่นยนต์สามารถทำงานร่วมกันได้คือระบบไซเบอร์กายภาพ (Cyber-Physical System หรือ CPS) ซึ่งเป็นระบบที่มีความซับซ้อนพัฒนาขึ้นมาใหม่โดยทีมนักวิจัย ซึ่งระบบนี้ทำให้หุ่นยนต์สามารถสื่อสารกันแบบเรียลไทม์ได้ด้วยหุ่นยนต์และเซ็นเซอร์รวมกันมากกว่า 1,600 ชิ้น หุ่นยนต์แต่ละตัวจะแบ่งปันข้อมูลเซ็นเซอร์ และรวมความสามารถกัน เพื่อให้ได้ผลลัพธ์งานที่มีประสิทธิภาพมากกว่าทำตัวเดียว นอกจากนี้ การควบคุมการทำงาน ยังสามารถทำได้โดยมนุษย์เพียงคนเดียว   ทั้งนี้ทีมวิจัยได้นำหุ่นยนต์ไปสาธิตภาคปฏิบัติที่โรงงาน Robotics…