พบแฮกเกอร์ทีม EncryptHub ใช้ช่องโหว่ Zero-Day บน Windows ในการฝังมัลแวร์ Rhadamanthys และ StealC

Loading

ในการแพร่กระจายมัลแวร์นั้น แฮกเกอร์ก็มักจะต้องพึ่งพาวิธีการต่าง ๆ เช่น การหลอกลวงเหยื่อ ไปจนถึงการใช้เทคนิคระดับสูง เช่น การอาศัยช่องโหว่ต่าง ๆ ของระบบ โดยช่องโหว่ที่เกิดขึ้นระหว่างการพัฒนาซอฟต์แวร์ หรือ Zero-Day นั้น ก็เป็นช่องโหว่อีกรูปแบบหนึ่งที่แฮกเกอร์มักนิยมใช้งาน

เผย 3 พฤติกรรมช้อปปิ้งออนไลน์ ด้วยบัตรเครดิต เสี่ยงตกเป็นเป้าของมิจฉาชีพ

Loading

    ผู้เชี่ยวชาญเผย 3 พฤติกรรมช้อปปิ้งออนไลน์ ด้วยบัตรเครดิต อาจเสี่ยงตกเป็นเป้าของมิจฉาชีพ ในยุคที่อินเตอร์เน็ตก้าวหน้าการ ช็อปปิ้งออนไลน์ โดยใช้เพียงบัตรเดียว จึงสะดวกสบายสำหรับทุกคนเป็นอย่างมาก อย่างไรก็ตามพฤติกรรมดังกล่าวอาจนำไปสู่การหลอกลวงจากกลุ่ม มิจฉาชีพ มาที่หน้าประตูบ้านของคุณได้   จากการสำรวจล่าสุดของ Security.com ซึ่งเป็นบริษัทระบบรักษาความปลอดภัยในสหรัฐ พบว่าประมาณร้อยละ 63 ของประชากรใน สหรัฐเคยประสบกับการฉ้อโกงบัตรเครดิต โดยมีมูลค่าสะสมสูงถึง 6.2 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ   ภาพประกอบ ผู้เชี่ยวชาญอาวุโสด้านความปลอดภัยในบ้าน เตือนผู้คนให้ปรับปรุงพฤติกรรมอันตราย 3 ประการที่มักมองข้ามไปเมื่อซื้อของออนไลน์       1.นิสัยการใช้รหัสผ่านที่เดาง่าย โดยแต่ละบัญชีควรใช้รหัสผ่านที่ไม่ซ้ำกัน หมายความว่าหากเว็บไซต์ใดเว็บไซต์หนึ่งถูกแฮ็ก แฮกเกอร์ก็สามารถบุกรุกบัญชีอื่นๆ ของคุณได้อย่างง่ายดาย สำหรับวิธีลดความเสี่ยงนั้น ผู้เชี่ยวชาญแนะนำว่า ขั้นแรกคุณสามารถสมัครใช้งานตัวจัดการรหัสผ่าน ซึ่งสามารถสร้างรหัสผ่านที่ไม่ซ้ำกันและซับซ้อนได้ โดยอัตโนมัติ ตัวจัดการรหัสผ่านยังต้องการรหัสผ่านที่ไม่ซ้ำใครและซับซ้อน และหลีกเลี่ยงการใช้รหัสผ่านนั้นในเว็บไซต์อื่น   2.การช็อปปิ้งออนไลน์ผ่าน Wi-Fi สาธารณะ “การเชื่อมต่อ Wi-Fi สาธารณะนั้นไม่ปลอดภัยโดยเนื้อแท้ และไม่ควรใช้เพื่อการจับจ่ายซื้อของหรือป้อนข้อมูลบัตรเครดิต เนื่องจากข้อมูลของคุณอาจถูกเข้าถึงได้ง่าย” โดยเน้นย้ำว่าพฤติกรรมทั้งสองนี้มีความอันตรายมาก…

อินเดียส่งทหารรักษาความสงบ เหตุประท้วงกฎหมายเงินบริจาคทางศาสนา ของชาวมุสลิม

Loading

ชาวอินเดียมุสลิมจำนวนมากเข้าร่วมการชุมนุมประท้วงในรัฐเบงกอลตะวันตก เพื่อคัดค้านร่างกฎหมายของรัฐบาลกลางที่เป็นการลดทอนสิทธิของชาวมุสลิมในการบริหารจัดการเงินบริจาคทางศาสนา (Waqf Amendment Act) มูลค่ากว่า 14,000 ล้านดอลลาร์

AI x CCTV เทคโนโลยีใหม่ ช่วยจับตาความปลอดภัยสงกรานต์

Loading

กทม.ได้นำระบบ “AI x CCTV” หรือการผสานการทำงานระหว่างกล้องวงจรปิด (CCTV) กับเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาใช้เป็นเครื่องมือเสริมในการเฝ้าระวังความปลอดภัยในพื้นที่จัดงานสงกรานต์หลัก 17 แห่งทั่วกรุงเทพฯ โดยเฉพาะจุดที่มีนักท่องเที่ยวแออัด

แผ่นดินไหวเมียนมา กับโอกาสเกิดสันติภาพ

Loading

  Damaged Maha Aungmye Bonzan Monastery, commonly known as the Me Nu Brick Monastery, is seen in the aftermath of Friday’s earthquake in Innwa, Tada-U township, Mandalay, Myanmar, Friday, April 4, 2025. (AP Photo)     เมื่อวันที่ 28 มีนาคมที่ผ่านมา เมียนมาเกิดแผ่นดินไหวรุนแรงขนาด 8.2 แมกนิจูด ซึ่งส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อประเทศที่กำลังประสบกับความขัดแย้งทางการเมือง และการต่อสู้ที่ยืดเยื้อมานานหลายปี ระหว่างฝ่ายรัฐบาลทหารของเมียนมากับบรรดากลุ่มต่อต้าน   การเกิดแผ่นดินไหวในครั้งนี้ไม่เพียงแต่ทำให้บ้านเรือนและโครงสร้างพื้นฐานของประเทศได้รับความเสียหาย แต่ยังได้จุดชนวนทำให้เกิดการหยุดยิงชั่วคราวจากฝ่ายที่ขัดแย้ง ซึ่งเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นได้ยากในช่วงเวลาที่ความรุนแรงระหว่างกองทัพเมียนมาและกลุ่มต่อต้านการปกครองของทหารยังคงดำเนินอยู่   โดยหลังจากแผ่นดินไหวรุนแรงครั้งนี้ ฝ่ายต่อต้าน การปกครองของทหารในเมียนมา ได้ประกาศหยุดยิงในพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติ เพื่อลดความรุนแรงและเปิดโอกาสให้มีการบรรเทาทุกข์แก่ผู้ประสบภัย…

The Great Polarization: โลก ‘หลังทรัมป์’ ที่อเมริกาไม่ใช่เจ้าโลกอีกต่อไป

Loading

  ดร.นณริฏ พิศลยบุตร นักวิชาการอาวุโส TDRI มองว่าโลกกำลังเข้าสู่ “The Great Polarization” ไม่ใช่ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ แต่เป็นการแบ่งขั้วระหว่างประเทศที่ปรับตัวได้กับปรับตัวไม่ได้ ท่ามกลางสงครามการค้าสหรัฐ-จีนที่ทวีความรุนแรง ชี้ประเทศที่มีหนี้ต่ำ นโยบายยืดหยุ่น และไม่ยึดติดรูปแบบเศรษฐกิจเดิมจะเป็นผู้ชนะ ขณะที่ทุกประเทศต้องเตรียมรับมือการถูกบังคับให้เลือกข้าง   ท่ามกลางความปั่นป่วนที่ทวีความรุนแรงขึ้นทั่วโลก สถานการณ์เศรษฐกิจและการเมืองระหว่างประเทศกำลังเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ ดร. นณริฏ พิศลยบุตร นักวิชาการอาวุโสจาก สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) ได้วิเคราะห์ถึงระดับความรุนแรงของสถานการณ์ที่โลกกำลังเผชิญใน งานเสวนาโต๊ะกลม “ผ่ากำแพงภาษี “ทรัมป์” ฝ่าวิกฤติเศรษฐกิจ : Trump’s Uncertainty”  โดยความรุนแรงแบ่งออกเป็น 3 ระดับด้วยกัน   ระดับที่ 1: มุ่งเน้นเรื่องภาษี (Tariff) เพียงอย่างเดียว ซึ่งผู้เชี่ยวชาญส่วนใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่าจะต้องเกิดขึ้นอย่างแน่นอน   ระดับที่ 2: มีความรุนแรงมากขึ้น โดยจะขยายวงกว้างไปถึงภาคบริการและตลาดทุน ซึ่งจะสร้างผลกระทบในวงกว้างต่อ ระบบเศรษฐกิจโลก   ระดับที่ 3: เป็นระดับที่น่ากลัวที่สุด เปรียบเสมือน “สงครามโลกครั้งที่ 3” ทางด้านการค้า ที่จะนำไปสู่การแข่งขันอย่างดุเดือดระหว่างสหรัฐฯ…