เกาหลีใต้ แฉยับ DeepSeek AI จีน แอบส่งข้อมูลผู้ใช้ ลั่น สั่งทำลายทิ้งแล้ว
เกาหลีใต้ สรุปผลสอบ DeepSeek AI จีน พบแอบส่งข้อมูลผู้ใช้รวมถึง Prompt ให้บริษัทต่างชาติ เบื้องต้น สั่งทำลายข้อมูล จับตาท่าทีแก้ปัญหา
เกาหลีใต้ สรุปผลสอบ DeepSeek AI จีน พบแอบส่งข้อมูลผู้ใช้รวมถึง Prompt ให้บริษัทต่างชาติ เบื้องต้น สั่งทำลายข้อมูล จับตาท่าทีแก้ปัญหา
KEY POINTS สหรัฐกำลังพิจารณาแบน DeepSeek แชตบอตเอไอจากจีน อาจห้ามไม่ให้บริษัทนี้ซื้อชิปเอไอจากอินวิเดียและอาจถึงขั้นห้ามคนอเมริกันใช้งาน DeepSeek คณะกรรมการเฉพาะกิจของสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐ ระบุผ่านรายงานว่า DeepSeek เป็น “ภัยคุกคามร้ายแรง” ต่อความมั่นคงของสหรัฐ อินวิเดียยังต้องการรักษาความสัมพันธ์กับตลาดจีน แม้ว่าชิป H20 ที่ออกแบบมาให้ผ่านข้อจำกัดของสหรัฐก็ยังไม่สามารถขายได้ มาตรการของสหรัฐที่จำกัดการส่งออกชิปให้จีน อาจผลักดันให้จีนเร่งสร้างอุตสาหกรรมชิปของตัวเองให้แข็งแกร่งขึ้น ตามรายงานของสำนักข่าว The New York Times เมื่อวันพุธ (16 เม.ย.) รัฐบาลของโดนัลด์ ทรัมป์กำลังพิจารณาแบน DeepSeek ซึ่งเป็นแชตบอตปัญญาประดิษฐ์ (AI) จากจีน อาจห้ามไม่ให้บริษัทนี้ซื้อชิปเอไอจาก อินวิเดีย และอาจถึงขั้นห้ามคนอเมริกันใช้งาน DeepSeek สาเหตุหลักเป็นเพราะรัฐบาลสหรัฐต้องการสู้กับจีนในเรื่องเทคโนโลยีเอไอ โดยหลังจาก DeepSeek เริ่มได้รับความนิยมในสหรัฐ ทั้งในวงการเทคโนโลยีและนักลงทุน รัฐบาลก็เริ่มมองหาวิธีป้องกันไม่ให้จีนเข้าถึงเทคโนโลยีและผู้ใช้งานในสหรัฐมากเกินไป ความกังวลของสหรัฐไม่ได้มีเพียงแค่ด้านเศรษฐกิจ แต่ยังเกี่ยวข้องกับความมั่นคงแห่งชาติ เนื่องจากเอไอถูกมองว่าเป็นเทคโนโลยีที่มี ความสำคัญเชิงยุทธศาสตร์ และรัฐบาลสหรัฐกังวลว่า การที่จีนมีความก้าวหน้าในด้านเอไออาจส่งผลกระทบต่อความเป็นผู้นำทางเทคโนโลยีและอำนาจทางการทหารของสหรัฐในระยะยาว ความขัดแย้งทางเทคโนโลยีระหว่างสหรัฐและจีนทวีความรุนแรง คณะกรรมการเฉพาะกิจของสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐ…
KEY POINTS ญี่ปุ่นหันมาพัฒนาเอไอประสิทธิภาพสูงขนาดเล็กอย่างจริงจัง ตามแนวทาง DeepSeek แทนการลงทุนมหาศาลกับโมเดลใหญ่ Tsuzumi เอไอญี่ปุ่นใช้พารามิเตอร์เพียง 600 ล้าน แต่เอาชนะ ChatGPT-3.5 ในการประมวลผลภาษาญี่ปุ่น แซม อัลต์แมน ซีอีโอ OpenAI เชื่อว่า “AI แพงๆ ก็คุ้ม เพราะผลตอบแทนยิ่งใหญ่มาก” หลายบริษัทเริ่มเห็นว่าการลงทุนแบบไม่จำกัดอาจไม่ยั่งยืน แม้แต่ OpenAI เองก็ยังไม่มีกำไร และคาดว่าจะเริ่มมีกระแสเงินสดเป็นบวกก็ปี 2572 การเปิดตัวของ DeepSeek โมเดลเอไอขนาดกะทัดรัดจากจีน ที่ใช้ต้นทุน และทรัพยากรที่ต่ำกว่าโมเดลใหญ่ๆ แต่ให้ความสามารถเทียบเท่ากัน ทำให้ประเทศเพื่อนบ้านอย่าง “ญี่ปุ่น” นำแนวคิดนี้มาปรับใช้อย่างจริงจัง บริษัทหลายแห่งหันหลังให้กับการแข่งขันสร้างโมเดลยักษ์แบบบริษัทในสหรัฐ มาเน้นพัฒนา “เอไอขนาดกะทัดรัด” ที่ตอบโจทย์ข้อจำกัดด้านทรัพยากร และพลังงานของประเทศ ทากาโนบุ โอบะ (Takanobu Oba) ผู้อำนวยการห้องปฏิบัติการ Human Insight Laboratory ของบริษัทโทรคมนาคม NTT กล่าวกับสำนักข่าว Nikkei Asia ว่า…
สำนักข่าวรอยเตอร์รายงานเมื่อวานนี้ (17 มี.ค.) โดยอ้างแหล่งข่าววงในว่า หน่วยงานในสังกัดกระทรวงพาณิชย์สหรัฐฯ ได้แจ้งเวียนให้เจ้าหน้าที่ทราบถึงคำสั่งห้ามใช้งานดีปซีค (DeepSeek) โมเดล AI สัญชาติจีน บนอุปกรณ์ราชการในช่วงไม่กี่สัปดาห์ที่ผ่านมา
สำนักงานสอบสวนกลางหรือ FBI ในเมืองเดนเวอร์ได้ทวีตข้อความเตือนเกี่ยวกับโปรแกรมแปลงไฟล์ฟรีในรูปแบบของเว็บไซต์และแอปบนสมาร์ตโฟน ระบุว่าบางเว็บไซต์และบางแอปอาจขโมยข้อมูลส่วนบุคคล (Personally Identifiable Information) ของผู้ใช้งานได้โดยที่ผู้ใช้ไม่รู้ตัว
จีนกำลังจับตาดู DeepSeek อย่างใกล้ชิด แม้ว่าจะเป็นบริษัทสตาร์ทอัพที่โดดเด่นอย่างมากในช่วงเวลาที่ผ่านมา โดยมีรายงานว่าพนักงานบางส่วนถูกจำกัดการเดินทางไปต่างประเทศ และรัฐบาลจีนเข้ามาคัดกรองนักลงทุนที่มีศักยภาพให้กับบริษัท
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว