ความตึงเครียดที่ทะเลบอลติก : อีกหนึ่งชนวนสงครามโลก

Loading

แม้ว่าการสู้รบในยูเครนทำท่าว่าอาจจะยุติลงได้ภายในสิ้นปีนี้ ซึ่งอาจจะเกิดจากที่รัสเซียมีชัยชนะในสงคราม หรืออาจจะเกิดจากการเปลี่ยนตัวประธานาธิบดียูเครนก็ตามแต่ ความขัดแย้งอันเกิดจากความไม่ไว้วางใจของยุโรป – รัสเซียก็มีแต่ทวีความเข้มข้นมากขึ้นความตึงเครียด ซึ่งอาจเป็นชนวนสงครามจึงปะทุขึ้นอีกหลายที่ เช่น มอลโดวา โรมาเนีย โปแลนด์ และในทะเลบอลติก ซึ่งเป็นอาณาเขตติดต่อกับหลายประเทศ

‘อินเดีย-ปากีสถาน’ คู่ปรับแห่งชมพูทวีป ความบาดหมางที่ไม่เคยจาง

Loading

ย้อนกลับไปเมื่อเดือน ส.ค. 2490 ข้อตกลงแบ่งมณฑลบริติชอินเดีย ที่กำหนดขึ้นโดยสหราชอาณาจักรมีผลบังคับใช้ ถือเป็นการสิ้นสุดอย่างเป็นทางการ ของยุคจักรวรรดินิยมอังกฤษในชมพูทวีป โดยข้อตกลงแบ่งแยกพื้นที่ดังกล่าวออกเป็นรัฐอธิปไตยสองแห่ง คือปากีสถานที่ได้รับเอกราชในคืนวันที่ 14 ส.ค. ตามด้วยอินเดีย เมื่อวันที่ 15 ส.ค. ปีเดียวกัน

ภูมิรัฐศาสตร์โลกกำลังจะเปลี่ยน

Loading

รัสมุส จาร์ลอฟ เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตจากมหาวิทยาลัยโคเปนเฮเกน อดีตสมาชิกสภานครโคเปนเฮเกน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร รัฐมนตรีพาณิชย์เดนมาร์ก เตือนทรัมป์เรื่องจะซื้อเกาะกรีนแลนด์ ว่าคำพูดของทรัมป์จะนำไปสู่ความขัดแย้ง ปัจจุบันจาร์ลอฟเป็นประธานคณะกรรมการกลาโหม แกเริ่มต่อต้านสหรัฐฯและบอกว่าเดนมาร์กเสียใจที่ไปซื้อเครื่องบินขับไล่ F-35 ของสหรัฐฯ