กสทช. หนุนสร้างระบบแจ้งเตือนภัยฉุกเฉินผ่านมือถือ คาดพร้อมใช้งานกลางปี’68
สำนักงาน กสทช. หนุนสร้างระบบแจ้งเตือนภัยฉุกเฉินผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Cell Broadcast) เพิ่มความปลอดภัยและลดความเสี่ยงในสถานการณ์ฉุกเฉิน
สำนักงาน กสทช. หนุนสร้างระบบแจ้งเตือนภัยฉุกเฉินผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Cell Broadcast) เพิ่มความปลอดภัยและลดความเสี่ยงในสถานการณ์ฉุกเฉิน
วันที่ 18 มิ.ย. 2567 พันเอก สรรพชัยย์ หุวะนันทน์ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท โทรคมนาคมแห่งชาติ จำกัด (มหาชน) หรือ NT นำคณะผู้บริหารให้การต้อนรับ นายประเสริฐ จันทรรวงทอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ในโอกาสเยี่ยมชมการทดสอบระบบแจ้งเตือนภัยฉุกเฉินแก่ประชาชนภายใต้ โครงการระบบแจ้งเตือนภัยฉุกเฉินผ่านเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ ณ Co-Working Space อาคารสโมสร NT สำนักงานใหญ่
แม้แผ่นดินไหวในญี่ปุ่นอาจฟังดูเป็นเรื่องไกลตัว แต่ก็ไม่แน่ว่าวันหนึ่งอาจมีเหตุให้เราไปอยู่ญี่ปุ่นในเวลานั้นก็ได้ ไม่ว่าจะท่องเที่ยว ศึกษาดูงาน ต่อเครื่อง เรียนต่อ ทำงาน หรืออยู่อาศัย อีกทั้งอภิมหาแผ่นดินไหวแนวแอ่งนังไกที่นักธรณีวิทยาญี่ปุ่นคาดว่าจะมาในทศวรรษที่ 2030 ก็อาจจะมาถึงก่อนเวลาได้อีกเช่นกัน
เจ้าหน้าที่รัฐฮาวายของสหรัฐฯ ชี้แจงสาเหตุที่ไม่เปิดเสียงไซเรนเตือนภัยในช่วงที่เกิดไฟป่ารุนแรง เมื่อสัปดาห์ที่แล้ว ซึ่งมีผู้เสียชีวิตแล้ว 110 ศพ เมื่อวันพุธที่ผ่านมา (16 ส.ค. 2566) หัวหน้าฝ่ายบริหารเหตุฉุกเฉินของเกาะเมาวี กล่าวปกป้องการตัดสินใจของหน่วยงานต่อประเด็นเรื่องการเปิดเสียงไซเรนในช่วงที่เกิดไฟป่ารุนแรงเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว ท่ามกลางคำถามว่าการทำเช่นนั้นอาจช่วยชีวิตผู้คนได้หรือไม่ เฮอร์แมน อันดายา ผู้บริหารสำนักงานจัดการเหตุฉุกเฉินเขตเมาวี เคาน์ตี กล่าวกับผู้สื่อข่าวว่า เสียงไซเรนในฮาวายใช้เพื่อเตือนผู้คนให้ระวังสึนามิ การใช้มันขณะเกิดไฟไหม้อาจทำให้ผู้คนต้องอพยพไปยังจุดอันตราย ไฟไหม้ทุ่งหญ้าเมื่อวันที่ 8 ส.ค. ลุกลามลงมาจากฐานของภูเขาไฟที่ลาดลงสู่เมืองลาไฮนา เมืองท่องเที่ยวชื่อดัง คร่าชีวิตผู้คนไปอย่างน้อย 110 ศพ และทำลายหรือสร้างความเสียหายให้กับอาคารราว 2,200 หลัง นายอันดายา กล่าวระหว่างการแถลงข่าว เมื่อนักข่าวตั้งคำถามถึงการตอบสนองของรัฐบาลระหว่างที่เกิดไฟป่าว่า “ประชาชนถูกฝึกให้หนีไปยังที่สูงในกรณีที่เสียงไซเรนดังขึ้น หากเราเปิดไซเรนในคืนนั้น เราเกรงว่าผู้คนจะไปรวมตัวกันบริเวณไหล่เขา และถ้าเป็นเช่นนั้น พวกเขาคงเข้าไปในกองไฟแล้ว” เขากล่าวว่า เมาวีใช้ระบบเตือนภัย 2 ระบบแทนการเปิดไซเรน ระบบหนึ่งจะส่งข้อความไปยังโทรศัพท์ และอีกระบบหนึ่งจะเป็นการออกอากาศข้อความฉุกเฉินทางโทรทัศน์และวิทยุ และเสริมว่า เนื่องจากเสียงไซเรนจะดังในพื้นที่ที่อยู่ริมทะเลเป็นหลัก พวกมันจึงไร้ประโยชน์สำหรับคนที่อาศัยอยู่บนที่สูง …
นกพิราบเบลเยียมบินระหว่างการฝึกฝนของตำรวจอินเดีย 9 มิถุนายน 2023 แม้ว่าโลกของเราในปัจจุบันจะมีวิธีการติดต่อสื่อสารมากมาย ไม่ว่าจะเป็นการส่งข้อความโต้ตอบแบบทันที การสนทนาผ่านกล้องวิดีโอ การใช้อินเทอร์เน็ต และโทรศัพท์มือถือ แต่เจ้าหน้าที่ตำรวจในรัฐโอริสสาที่อยู่ทางตะวันออกของอินเดียยังคงอนุรักษ์ฝูงนกพิราบสื่อสารไว้ใช้เมื่อเกิดภัยพิบัติที่การเชื่อมต่อสื่อสารถูกตัดขาด บรรดาสถานีตำรวจของอินเดียต่างใช้นกพิราบในการสื่อสารระหว่างกันและกันมาตั้งแต่สมัยการปกครองภายใต้อาณานิคมของอังกฤษ โดยการใช้นกพิราบสื่อสารสายพันธุ์ Belgian Homer มากกว่า 100 ตัว สาทิช คูมาร์ กาจพิเย ตำรวจในเขตคัตแทค กล่าวว่า “เราเลี้ยงนกพิราบเหล่านี้ไว้เพื่อเป็นมรดกตกทอดแด่คนรุ่นหลัง” เจ้าหน้าที่ตำรวจกล่าวว่า นกพิราบเหล่านี้สามารถบินด้วยความเร็ว 55 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เป็นระยะทางไกลถึง 800 กิโลเมตร โดยพวกมันได้พิสูจน์ให้เห็นถึงการมีบทบาทสำคัญในเหตุการณ์ที่ระบบการสื่อสารเกิดขัดข้อง ในขณะที่พายุไซโคลนที่มีกำลังรุนแรงพัดถล่มพื้นที่ชายฝั่งในปี 1999 เช่นเดียวกับในปี 1982 ในขณะที่เกิดน้ำท่วมใหญ่ในบางพื้นที่ของรัฐ ทั้งนี้ นกพิราบสื่อสารมักจะมีข้อความที่เขียนไว้บนกระดาษที่มีน้ำหนักบางเบา สอดไว้ในแคปซูลแล้วมัดไว้ที่ขาของพวกมัน ปาร์ชูรัม นันดา ผู้ดูแลนกพิราบสื่อสาร กล่าวว่า “เราเริ่มฝึกนกเมื่ออายุได้ 5-6 สัปดาห์ ในขณะที่พวกมันยังต้องอยู่ในกรง” เมื่อพวกมันโตขึ้น นกพิราบจะถูกปล่อยให้เป็นอิสระและให้บินกลับไปที่ศูนย์พักพิงตามสัญชาตญาณของพวกมัน…
วันนี้ (10 ต.ค.) ที่สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (สำนักงาน กสทช.) นายไกลก้อง ไวทยการ กรรมการบริหารคณะก้าวหน้า และผู้ริเริ่มรวบรวมรายชื่อรณรงค์ผ่านเว็บไซต์ Change.org ให้ กสทช.ทำระบบ เอสเอ็มเอส หรือ ข้อความสั้น เตือนภัยพิบัติแก่ประชาชน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว
องค์การรักษาความปลอดภัยฝ่ายพลเรือน
We firmly believe that the internet should be available and accessible to anyone, and are committed to providing a website that is accessible to the widest possible audience, regardless of circumstance and ability.
To fulfill this, we aim to adhere as strictly as possible to the World Wide Web Consortium’s (W3C) Web Content Accessibility Guidelines 2.1 (WCAG 2.1) at the AA level. These guidelines explain how to make web content accessible to people with a wide array of disabilities. Complying with those guidelines helps us ensure that the website is accessible to all people: blind people, people with motor impairments, visual impairment, cognitive disabilities, and more.
This website utilizes various technologies that are meant to make it as accessible as possible at all times. We utilize an accessibility interface that allows persons with specific disabilities to adjust the website’s UI (user interface) and design it to their personal needs.
Additionally, the website utilizes an AI-based application that runs in the background and optimizes its accessibility level constantly. This application remediates the website’s HTML, adapts Its functionality and behavior for screen-readers used by the blind users, and for keyboard functions used by individuals with motor impairments.
If you’ve found a malfunction or have ideas for improvement, we’ll be happy to hear from you. You can reach out to the website’s operators by using the following email
Our website implements the ARIA attributes (Accessible Rich Internet Applications) technique, alongside various different behavioral changes, to ensure blind users visiting with screen-readers are able to read, comprehend, and enjoy the website’s functions. As soon as a user with a screen-reader enters your site, they immediately receive a prompt to enter the Screen-Reader Profile so they can browse and operate your site effectively. Here’s how our website covers some of the most important screen-reader requirements, alongside console screenshots of code examples:
Screen-reader optimization: we run a background process that learns the website’s components from top to bottom, to ensure ongoing compliance even when updating the website. In this process, we provide screen-readers with meaningful data using the ARIA set of attributes. For example, we provide accurate form labels; descriptions for actionable icons (social media icons, search icons, cart icons, etc.); validation guidance for form inputs; element roles such as buttons, menus, modal dialogues (popups), and others. Additionally, the background process scans all the website’s images and provides an accurate and meaningful image-object-recognition-based description as an ALT (alternate text) tag for images that are not described. It will also extract texts that are embedded within the image, using an OCR (optical character recognition) technology. To turn on screen-reader adjustments at any time, users need only to press the Alt+1 keyboard combination. Screen-reader users also get automatic announcements to turn the Screen-reader mode on as soon as they enter the website.
These adjustments are compatible with all popular screen readers, including JAWS and NVDA.
Keyboard navigation optimization: The background process also adjusts the website’s HTML, and adds various behaviors using JavaScript code to make the website operable by the keyboard. This includes the ability to navigate the website using the Tab and Shift+Tab keys, operate dropdowns with the arrow keys, close them with Esc, trigger buttons and links using the Enter key, navigate between radio and checkbox elements using the arrow keys, and fill them in with the Spacebar or Enter key.Additionally, keyboard users will find quick-navigation and content-skip menus, available at any time by clicking Alt+1, or as the first elements of the site while navigating with the keyboard. The background process also handles triggered popups by moving the keyboard focus towards them as soon as they appear, and not allow the focus drift outside it.
Users can also use shortcuts such as “M” (menus), “H” (headings), “F” (forms), “B” (buttons), and “G” (graphics) to jump to specific elements.
We aim to support the widest array of browsers and assistive technologies as possible, so our users can choose the best fitting tools for them, with as few limitations as possible. Therefore, we have worked very hard to be able to support all major systems that comprise over 95% of the user market share including Google Chrome, Mozilla Firefox, Apple Safari, Opera and Microsoft Edge, JAWS and NVDA (screen readers).
Despite our very best efforts to allow anybody to adjust the website to their needs. There may still be pages or sections that are not fully accessible, are in the process of becoming accessible, or are lacking an adequate technological solution to make them accessible. Still, we are continually improving our accessibility, adding, updating and improving its options and features, and developing and adopting new technologies. All this is meant to reach the optimal level of accessibility, following technological advancements. For any assistance, please reach out to